กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแกนนำด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นายมูหมัด อีอาซา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแกนนำด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-2-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแกนนำด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแกนนำด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแกนนำด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8302-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การนวดไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลปะที่มีมาแต่โบราณ เกิดจากสัญชาตญาณเบื้องต้นของการอยู่รอด เมื่อมีอาการปวดเมื่อยหรือเจ็บป่วยตนเองหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงมักจะลูบไล้บีบนวดบริเวณดังกล่าว ทำให้อาการปวดเมื่อยลดลง เริ่มแรก ๆ ก็เป็นไปโดยมิได้ตั้งใจ ต่อมาเริ่มสังเกตเห็นผลของการบีบนวดในบางจุด หรือบางวิธีที่ได้ผลจึงเก็บไว้เป็นประสบการณ์ และกลายเป็นความรู้ที่สืบทอดกันต่อ ๆ มาจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ความรู้ที่ได้จึงสะสมจากลักษณะง่าย ๆ ไปสู่ความสลับซับซ้อน จนสามารถสร้างเป็นทฤษฎีการนวด จึงกลายมาเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีบทบาทบำบัดรักษาอาการและโรคบางอย่าง       จากข้อมูลการสำรวจประชาชนในชุมชนเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกรีดยาง ค้าขาย และมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ทำให้ต้องรับประทานยาแก้ปวดและยาคลายกล้ามเนื้อเป็นประจำในปริมาณที่มากและเกิดอาการสะสมสารเคมีในร่างกาย เพื่อต้องการบรรเทาอาการเจ็บปวด ซึ่งยาแก้ปวดทั้งหลายหากรับประทานเข้าไปในปริมาณที่มากอาจจะทำให้ตับและไตทำงานหนักขึ้นและเกิดผลเสียต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกาย

      ดังนั้น กลุ่มอสม.นักจัดการวสุขภาพ เพื่อ สปสช.มะรือโบตก ได้เห็นถึงความสำคัญของการนำองค์ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเข้าสู่ระบบการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทย (การออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวช และการนวดแผนไทย) กลุ่มเป้าหมายคือ แกนนำ 12 ชุมชน สามารถฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรม ได้นำความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้
  2. ประชาชนสามารถใช้ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพร การนวดแผนไทย และการออกกำลังกาย ให้เป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพ ลดปริมาณการใช้ยารักษาโดยไม่จำเป็น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทย (การออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวช และการนวดแผนไทย) กลุ่มเป้าหมายคือ แกนนำ 12 ชุมชน สามารถฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทย (การออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวช และการนวดแผนไทย)
กลุ่มเป้าหมายคือ แกนนำ 12 ชุมชน สามารถฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้สมุนไพร การนวดแผนไทย และการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
40.00 80.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เพื่อดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทย (การออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวช และการนวดแผนไทย)  กลุ่มเป้าหมายคือ แกนนำ 12 ชุมชน สามารถฝึกอบรมและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแกนนำด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูหมัด อีอาซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด