กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นายมูหมัด อีอาซา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-2-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8302-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)         ในประเทศไทยมีการใช้สมุนไพรเพื่อเป็นยารักษาโรค เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์อาหารเสริมมานานแล้ว แต่การปลูกพืชสมุนไพรเป็นการค้ายังมีน้อยและเป็นสิ่งท้าทายใหม่ที่ประเทศของเราเพิ่งเริ่มต้น เนื่องจากมีข้อจำกัดในกระบวนการผลิตค่อนข้างมาก เพื่อให้ได้มาตรฐานการปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice : GMP) และเหมาะสมตามมาตรฐานของตลาดโลก ดังนั้นหากเราต้องการผลิตสมุนไพรให้ได้การรับรองมาตรฐานและปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อน การผลิตสมุนไพรแบบเกษตรอินทรีย์จึงเป็นระบบที่เหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะรับประกันได้ว่าปราศจากสารเคมี ทั้งส่วนของสมุนไพรที่นำมาปลูกหรือที่เรียกว่ากิ่งพันธุ์ พื้นที่ในการผลิต และวิธีการเก็บรักษา       การปลูกพืชทั่วไปมักเน้นเรื่องความสวยงามหรือให้ผลผลิตขนาดใหญ่ ขณะที่การปลูกพืชสมุนไพรนั้น สิ่งที่ต้องการมากที่สุดก็คือปริมาณสารสำคัญที่มีสรรพคุณทางยา เช่น มีสารต้านอนุมูลอิสระ น้ำมันหอมระเหย สารยับยั้งอาการอักเสบต่าง ๆ ซึ่งปัจจัยที่ช่วยเพิ่มปริมาณสารสำคัญในพืช ได้แก่ พันธุ์พืช แหล่งปลูก การจัดการแร่ธาตุ ตลอดจนการให้พืชได้รับความเครียดเพื่อกระตุ้นให้สร้างสารสำคัญ เช่น การบังคับน้ำ แสง อุณหภูมิ ตลอดจนการกระตุ้นด้วยจุลินทรีย์ แต่อย่างไรก็ตามการกระตุ้นดังกล่าวต้องคำนึงถึงความเสียหายที่กระทบกับปริมาณผลผลิตด้วยเช่นกัน การปลูกสมุนไพร และใช้สมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพอยู่ในวิถีชีวิตของคนไทยมีมาตั้งแต่อดีตแล้ว ส่วนใหญ่นำมาบริโภคเป็นผัก ใช้เป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหารหรือทำเครื่องแกงต่าง ๆ หากปลูกติดบ้านไว้ก็สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย โดยหลายชนิดถูกบรรจุเป็นสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน ใช้เพื่อรักษาโรคหรืออาการเบื้องต้น ที่พบบ่อย ๆ การปลูกสมุนไพรแล้วเก็บมาใช้ประโยชน์ในครัวเรือนถือเป็นการพึ่งพาตัวเองในการรักษาและบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นที่ทุกคนทำได้ ซึ่งปัจจุบันสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับการปลูกเลี้ยง และวิธีการใช้ประโยชน์ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ       จากข้อมูลการสำรวจประชาชนในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกรีดยาง ค้าขาย และมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ทำให้ต้องรับประทานยาแก้ปวดและยาคลายกล้ามเนื้อเป็นประจำในปริมาณที่มากและเกิดอาการสะสมสารเคมีในร่างกาย เพื่อต้องการบรรเทาอาการเจ็บปวด ซึ่งยาแก้ปวดทั้งหลายหากรับประทานเข้าไปในปริมาณที่มากอาจจะทำให้ตับและไตทำงานหนักขึ้นและเกิดผลเสียต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกาย อย่างไรก็ตามการที่จะช่วยให้บรรเทาอาการปวดเมื่อยลดอาการปวดเมื่อยอักเสบและการเกร็งของกล้ามเนื้อกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตได้เป็นอย่างดีนั้นต้องอาศัยสมุนไพรที่มีอยู่ในพื้นที่ ซึ่งเป็นการรักษาอาการเบื้องต้นได้ ดังนั้น กลุ่มอสม.นักจัดการสุขภาพเพื่อ สปสช. มะรือโบตก เห็นถึงความสำคัญของการนำองค์ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเข้าสู่ระบบการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะการใช้สมุนไพร ในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน และวิธีการใช้สมุนไพร
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมครัวเรือนตัวอย่าง (สาธิตวิธีการปลูกสมุนไพร)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรม ได้นำความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวได้
  2. ประชาชนสามารถใช้ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพร ให้เป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพ ลดปริมาณการใช้ยารักษาโดยไม่จำเป็น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน และวิธีการใช้สมุนไพร

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน และวิธีการใช้สมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะการใช้สมุนไพร ในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
40.00 80.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะการใช้สมุนไพร ในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน และวิธีการใช้สมุนไพร (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมครัวเรือนตัวอย่าง (สาธิตวิธีการปลูกสมุนไพร)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรในครัวเรือน ปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูหมัด อีอาซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด