กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา อับดุลเลาะห์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-1-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L8302-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ)     กลุ่มโรคเรื้อรังถือเป็นปัญหาด้านสุขภาพของไทย ที่มีการรับมือกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่คร่าชีวิตประชาชนกว่า 1,000 คนต่อวันหรือ 4 แสนคนต่อปี ผู้ที่เสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง เสียชีวิตก่อนวัยอันควร (ตั้งแต่อายุ 30-70 ปี) ทั้งนี้ โรคเรื้อรังนั้นสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของโลกาภิวัตน์ และลัทธิบริโภคนิยม เช่น การตลาดของอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ เช่น น้ำหวาน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่ การไม่มีกิจกรรมทางกาย มลพิษทางอากาศ และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งไทยเป็นประเทศมีความเสี่ยงของโรคเรื้อรังมากกว่าประเทศเพื่อนบ้านในแถบนี้ เนื่องจากเป็นประเทศที่มีอัตราการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงสุด (คิดเป็น 2 เท่าของค่าเฉลี่ยของประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้และตะวันออก) นอกจากนี้ประเทศไทยมีอัตราการบริโภคโซเดียม และน้ำตาลของประชากรไทยสูงเป็น 2 เท่า และ 4 เท่าของปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้บริโภคต่อวัน นอกจากนั้น การสูบบุหรี่ยังคงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตและเจ็บป่วยอันดับต้น ๆ ของคนไทยด้วย รวมถึงเยาวชนไทย 9 ใน 10 คนยังมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ (อย่างน้อย 150-300 นาทีต่อสัปดาห์) และคนไทยร้อยละ 42 มีภาวะน้ำหนักเกินซึ่งสูงเป็นลำดับ 2 ของประเทศในเอเชีย
        ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆโดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรง ส่วนหนึ่งนั้นโดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการ  คัดกรองค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ การละเลิกการสูบบุหรี่ ลดอาหารที่มีรสหวานมันเค็มและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำลดภาวะน้ำหนักเกิน การดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้น จำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคทุกส่วนที่เกี่ยวข้องและการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่     สถานการณ์โรคเรื้อรังจากกลุ่มโรคเมตาบอลิกเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญสำหรับโรงพยาบาลพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล จากผลการคัดกรองในกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป (เฉพาะเขต เทศบาลตำบลมะรือโบตก ส่วน รพ.สต.บ้านสะโล) ทั้งหมด 770 คน คัดกรองได้ 705 คน ร้อยละ 91.55  ปัจจุบันมีผู้ป่วยเบาหวาน ๒3 คน มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน 125 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 143 คน มีภาวะเสี่ยงเป็นความดันโลหิตสูง 60 คน ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๖1 คน จากข้อมูลแสดงถึงแนวโน้มความรุนแรงที่เป็นอันตรายเพิ่มมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล ได้ดำเนินการคัดกรองภาวะสุขภาพประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในปี ๒๕๖5 พบว่า ประชากรมีระดับความเสี่ยงสูงที่จะเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มมากขึ้นทุกปีเช่นกัน การขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการป้องกันและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคและผลกระทบจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ประกอบกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนหนึ่งขาดการรักษาอย่างต่อเนื่องและขาดยาไป ทำให้ไม่อยู่ในระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โดยมากแล้วไม่สะดวกในการเดินทาง ไม่มีใครนำพาไปรับยา ซึ่งอาจส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ รพ.สต.บ้านสะโล มีความพยามที่จะนำกลุ่มเหล่านี้ให้อยู่ในระบบการดูแลที่ถูกต้องและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการ ดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566 นี้ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองในผู้ป่วยโรครื้อรัง
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ. 2ส. ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง
  4. ป้ายโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 75
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความสามารถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรคเรื้อรังได้ ๒. ประชาชนตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม ๓. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง
๔. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการดูแลตนเองและสภาพร่างกายให้แข็งแรง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ 5. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเข้าสู่ระบบการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ป้ายโครงการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวน 1 ผืน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองในผู้ป่วยโรครื้อรัง

วันที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

***ระยะเวลาดำเนินโครงการ หน่วยงานได้ขอขยายเวลา  มา ทำ23/8/66

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค

 

0 0

3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ. 2ส. ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ


อบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตระหนัก และใส่จในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม

 

0 0

4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง

วันที่ 29 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

***อบรมให้ความรู้ 2 รุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตระหนัก มีส่วนร่วมในการดำเนิงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
45.00 90.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 155 155
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 75 75
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลตนเองในผู้ป่วยโรครื้อรัง (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ. 2ส. ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง (4) ป้ายโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลด้วยใจ ห่วงใยสุขภาพโรคเรื้อรัง ปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L8302-1-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาริสา อับดุลเลาะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด