กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ“หนูน้อยฟันดี ด้วยสองมือแม่” ”

ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอัมราน เบ็ญอิสริยา

ชื่อโครงการ โครงการ“หนูน้อยฟันดี ด้วยสองมือแม่”

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2995-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ“หนูน้อยฟันดี ด้วยสองมือแม่” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ“หนูน้อยฟันดี ด้วยสองมือแม่”



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยที่มีภาวะฟันผุ โดยเฉพาะฟันน้ำนม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย 3.เพื่อให้อสม.สามารถเป็นครูพี่เลี้ยงของผู้ปกครองในการดูแลรักษาฟันของเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันพบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และแบบแผนการดำเนินชีวิต ส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วย ทั้งด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ และป้องกันไม่ได้ รวมทั้งโรคพื้นฐานที่ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ โรคบางอย่างเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึ่งประสงค์ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ขาดการจัดการความเครียด การไม่รู้จักดูแลรักษาอวัยวะในร่างกายที่ถูกต้อง และจากการค้นหาคัดกรองเบื้องต้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในประชากรกลุ่มเด็กปฐมวัย จากการสำรวจชุมชนพบว่ากลุ่มเด็กปฐมวัยในพื้นที่ มีปัญหาเรื่องฟัน ซึ่งเป็นอวัยวะในช่องปาก ซึ่งหากไม่รักษาให้ดี จะสร้างปัญหาด้านสุขภาพต่างๆมากมาย เช่น ปัญหาการขาดสารอาหารในเด็ก เป็นต้น เนื่องจากอาการฟันผุจึงทำให้เด็กเหล่าไม่สามารถรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ ประกอบผู้ปกครองไม่ค่อยเอาใจใส่ ในการดูแลรักษาฟันตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์ จนถึงเด็กเริ่มจะมีฟันน้ำนมขึ้น ถ้าหากผู้ปกครองมีความรู้ เอาใจใส่ในการดูแลรักษา จะทำให้เด็กมาใช้ฟันในการบดอาหาร สามารถรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เต็มที่ จะส่งผลให้ร่างกายแข็งแรง คุณภาพชีวิตของเด็กดีขึ้นต่อไป     จากผลการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขของอำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานีปัจจุบัน พบว่าเด็กปฐมวัยที่เริ่มมีฟันน้ำนม 95% จะมีภาวะของฟันผุ และ 89% ของเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านกลาง เด็กจะมีภาวะของฟันผุ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้นมาเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าวขึ้น อันอาจจะช่วยลดจำนวนเด็กปฐมวัยที่ภาวะของฟันผุได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยที่มีภาวะฟันผุ โดยเฉพาะฟันน้ำนม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย 3.เพื่อให้อสม.สามารถเป็นครูพี่เลี้ยงของผู้ปกครองในการดูแลรักษาฟันของเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราเด็กปฐมวัยมีภาวะของฟันน้ำนมผุลดลง
  2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยสามารถดูแลรักษาฟันได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 3.อสม.มีความสารถในการเป็นพี่เลี้ยงผู้ปกครองในการดูแลฟันเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 2 มกราคม 2566 ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านชี้แจง จำนวน 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.มีความสารถในการเป็นพี่เลี้ยงผู้ปกครองในการดูแลฟันเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของตนเองได้

 

25 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราเด็กปฐมวัยมีภาวะของฟันน้ำนมผุลดลง
  2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยสามารถดูแลรักษาฟันได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วันที่ 2 มกราคม 2566 ได้ดำเนินโครงการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 25 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 25 ชุด  เป็นเงิน 625 บาท

วันที่ 16 มกราคม 2566 ได้ดำเนินโครงการ กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย จำนวน 40 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 40 ชุด  เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน 40 ชุด    เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่าป้ายไวนิลดำเนินกิจกรรมจำนวน 1 ผืนๆละ 600 บาท    เป็นเงิน 600 บาท - ค่าวัสดุสำนักงานประกอบการอบรม        เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยที่มีภาวะฟันผุ โดยเฉพาะฟันน้ำนม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย 3.เพื่อให้อสม.สามารถเป็นครูพี่เลี้ยงของผู้ปกครองในการดูแลรักษาฟันของเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 25 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยที่มีภาวะฟันผุ โดยเฉพาะฟันน้ำนม 2.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย 3.เพื่อให้อสม.สามารถเป็นครูพี่เลี้ยงของผู้ปกครองในการดูแลรักษาฟันของเด็กปฐมวัยในเขตรับผิดชอบของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาฟันในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ“หนูน้อยฟันดี ด้วยสองมือแม่” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2995-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัมราน เบ็ญอิสริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด