กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจีรนา อาดตันตรา

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 6ุ6 – L8406 -2-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 6ุ6 – L8406 -2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) สังคมไทยในวันนี้ได้กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์แบบ และจากสถิติในปี พ.ศ. 2565 มีผู้สูงอายุประมาณ 12 ล้านคน คิดเป็น 18 % ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป จะมีคนไทยอายุถึง 60 ปี ปีละ 1 ล้านคน โดยทั่วไปรางกายของผู้สูงอายุจะมีการถดถอยตามวัย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจร่วมด้วย ซึ่งผลกระทบดังกล่าวจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับหลากหลายปัจจัย เช่น การดูแลสุขภาพของตนเอง สิ่งแวดล้อมรอบตัว การรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย เป็นต้น จากมุมมองที่มองการดูแลผู้สูงอายุรวมถึงการสร้างทางออกให้กับสังคมผู้สูงอายุให้เป็นสังคมที่มีพลังในการดูแลสุขภาพของตัวผู้สูงอายุเอง โดยผ่านทางกิจกรรมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน ถือเป็นกิจกรรมที่จะช่วยเป็นพลังในการขับเคลื่อนให้เป็นสังคมคนสูงวัยที่สามารถพึ่งตนเองได้อย่างแท้จริง จากจุดเริ่มต้นของการเรียนในห้องเรียนสุขภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมุนไพรมีผู้เข้าร่วมที่สนใจกิจกรรมแค่ 10 คน จากการทำกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องของการดูแลสุขภาพของตนเอง และกลุ่มเพื่อนผู้สูงอายุด้วยกัน เมื่อจบหลักสูตรการเรียนจึงได้มีรวมกลุ่มกันเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยใช้กิจกรรมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมที่ทำร่วมกัน ในด้านร่างกายถือเป็นการออกกำลังกาย ได้ขยับร่างกาย และด้านจิตใจมีการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมร่วมกันสร้างความสุขใจให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ แบ่งปัน มีการขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนถึงวันนี้มีสมาชิกเครือข่ายผู้ปลูกสมุนไพรขมิ้นชันมีจำนวน 45 คน และยังมีผู้สนใจเข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีด้วย 4 สุขนั้นมีผลดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพใจของผู้สูงอายุ ดังนั้นทางกลุ่มจึงจัดทำโครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันขึ้น เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย การทำงานอดิเรกที่เหมาะสม เกิดรายได้ และผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการเกิดความสุขที่ได้ทำและเป็นพลังในการดูแลตัวเองแบบยั่งยืนของกลุ่มผู้สูงอายุต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันให้ในครัวเรือนผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การลงเยี่ยมผู้ปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน
  2. กิจกรรมส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน เพื่อสร้างสุข 4 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ
  3. 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมย่อย แนะนำและส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันในวัสดุปลูกเพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (ปฏิบัติจริง)
  5. 2.1 กิจกรรมย่อย กิจกรรมการทำน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ
  6. 2.2 กิจกรรมย่อย กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยอาหารที่เป็นสมุนไพร
  7. กิจกรรมย่อย ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรขมิ้นชันกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของสมุนไพรและสามารถดูแลสุขสุขภาพตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพร ร้อยละ 80
  2. ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างชุมชน และมีกิจกรรมเครือข่ายร่วมกัน ร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.2 กิจกรรมย่อย กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยอาหารที่เป็นสมุนไพร

วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลตนเองเบื้องต้นที่สามารถปฏิบัติได้เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ และช่วยเสริมสร้าง ร่างกายให้แข็งแรงและป้องกันโรคได้ คือ “รับประทานอาหาร” ที่ไม่ใช่เพียงรสชาติที่อร่อยเท่านั้น แต่ยังดีต่อ สุขภาพ ช่วยเสริมภูมิตานทานการป้องกันโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพรในชุมชนได้ในเบื้องต้น รวมทั้งสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กับผู้อื่นได้ 2.เกิดการทำงานร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยสมุนไพร

 

30 0

2. 2.1 กิจกรรมย่อย กิจกรรมการทำน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ

วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรให้ความรู้เรือ่งการทำน้ำสมุนไพร ซึ่งเป็นน้ำดื่มที่ได้จากการใช้ส่วนประกอบต่างๆ ของพืชเช่น ผลไม้ ธัญพืชนำมาแปรรูปให้เหมาะสมตามฤดูกาลและสรรพคุณของสมุนไพรนั้น ๆ ในร่างกายคนเรามีส่วนประกอบของน้ำปริมาณร้อยละ 80 น้ำจึงมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตร่างกายต้องการใช้น้ำไปช่วยระบบต่าง ๆ ในร่างกายทำงานได้ปกติ น้ำในร่ายกายมีการสูญเสียไปร้อยละประมาณ 2-3 ลิตร ถ้าเราไมาดื่มน้ำไปชดเชยจะทำให้เกิดการกระหายน้ำ เราจึงต้องดื่มน้ำเข้าไปทดแทนกับที่เสียไป แต่ในบางครั้งความกระหายทำให้คนยังยึดติดในรสชาติซึ่งมักหันไปดื่มน้ำที่ให้รสชาติ เช่น น้ำสมุนไพร ซึ่งมีประโยชน์ทางยา มีคุณค่างทางอาหารและช่วยในการป้องกันโรค โดยเฉพาะในช่วงอากาศร้อน ร่างกายจะมีการสูญเสียน้ำมากกว่าปกติ ดื่มน้ำสมุนไพร แล้วจิตใจสดชื่นและผ่อนคลายได้ และสมุนไพรบางชนิดช่วยลดอุณภูมิในร่างกายลงได้ น้ำสมุนไพรเป็นได้ทั้งอาหารและคณค่าทางยาได้บ้าง เปรียบเสมือนยาที่บำรุงร่างกาย ปกป้องรักษาสภาวะร่างกายให้เกิดสมดุล ทำให้ร่างกายทำงานได้อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น การทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ และเพื่อคนในชุมชนได้มีสุขภาพที่แข็งแรง และลดการเจ็บป่วยของคนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
2.ผู้สูงอายุสามารถทำน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพบริโภคเองได้ 3.ผู้สูงอายุสามารถทำน้ำอบสมุนไพรเพื่อผ่อนคลายได้

 

30 0

3. กิจกรรมย่อย แนะนำและส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันในวัสดุปลูกเพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (ปฏิบัติจริง)

วันที่ 18 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลและวิธีการปลูกขมิ้นลงในภาชนะปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันผสมดินปลูกเพื่อใช้ในการปลูกขมิ้น

 

30 0

4. กิจกรรมย่อย ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรขมิ้นชันกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 18 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรขมิ้นชันกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้รู้ถึงสรรพคุณทางยาของขมิ้นชัน  “ขมิ้นชัน” เป็นสมุนไพรที่คนไทยกินเป็นประจำอยู่แล้ว ถ้าเราตระหนักถึงคุณค่าของขมิ้นชันที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ  ควรส่งเสริมการกินขมิ้นชันเพื่อสุขภาพให้มากขึ้น หากขมิ้นชันเป็นยาสามัญประจำบ้านที่มีทุกบ้าน  ขมิ้นตามการใช้แบบโบราณ ก็พบว่ามีสรรพคุณมากมายตามที่เคยใช้กันมา เช่น ขมิ้นชันมีสรรพคุณทำให้แผลหายเร็วขึ้น มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ลดปฏิกิริยาภูมิแพ้ เพิ่มภูมิคุ้นกันให้แก่ร่างกาย มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดหนอง มีฤทธิ์ขับน้ำดี ช่วยในการย่อยและป้องกันไม่ให้เป็นนิ่วในถุงน้ำดี มีฤทธิ์ขับลม รวมทั้งมีการศึกษาการใช้ขมิ้นชันรักษาโรคกระเพาะ  ข้อจำกัดของการกินขมิ้นชัน  การกินขมิ้นชัน ช่วยลดการจุกเสียดและปวดชะงักมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ยาลดกรดอะลั่มมิลด์ พบว่าขมิ้นชันมีอัตราการแก้ปวดท้องได้ดีกว่า

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของสมุนไพรและสามารถดูแลสุขภาพตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยสมุนไพร ร้อยละ 80

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันให้ในครัวเรือนผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างชุมชน และมีกิจกรรมเครือข่ายร่วมกัน ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลผู้สูงอายุ (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันให้ในครัวเรือนผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การลงเยี่ยมผู้ปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน (2) กิจกรรมส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน เพื่อสร้างสุข 4 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ (3) 1  กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมย่อย แนะนำและส่งเสริมการปลูกสมุนไพรขมิ้นชันในวัสดุปลูกเพื่อให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (ปฏิบัติจริง) (5) 2.1 กิจกรรมย่อย กิจกรรมการทำน้ำดื่มสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ (6) 2.2 กิจกรรมย่อย กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยอาหารที่เป็นสมุนไพร (7) กิจกรรมย่อย ให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรขมิ้นชันกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยการปลูกสมุนไพรขมิ้นชัน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 6ุ6 – L8406 -2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจีรนา อาดตันตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด