โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาฟีซา การี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
มกราคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 ธันวาคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 ธันวาคม 2565 - 31 มกราคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา ฉบับที่ 11 (357/2565) ลงวันที่ 19 ธันวาคม ๒๕๖๕ แจ้งว่าในช่วงวันที่ 19 - 20 ธันวาคม ๒๕๖๕ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้มีกำลังแรง ทำให้ภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส กระบี่ ตรังและสตูล ขอให้ประชาชนบริเวณภาคใต้ระวังอันตรายจากฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสมซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่ม
จากการพยากรณ์สภาพอากาศดังกล่าว ในพื้นที่ตำบลสะเตงนอกมีฝนตกหนักถึงหนักมากอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทำให้หลายหมู่บ้านเกิดน้ำท่วมเฉียบพลัน ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากภาวะอุทกภัย ทรัพย์สิน ที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหาย ไม่สะดวกต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน พื้นที่ตำบลสะเตงนอก เป็นพื้นที่ประสบภัยดังกล่าว จึงสามารถให้มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม ตลอดจนถึงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้ว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่/ท้องถิ่น ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 10(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้
เทศบาลเมืองสะเตงนอก มีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ เช่น โรคทางเดิน
อาหารจากการดื่มน้ำ/รับประทานอาหารที่ปนเปื้อนหรือแหล่งน้ำ/บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วม โรคผิวหนัง น้ำกัดเท้า เป็นต้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการบรรเทาและป้องกันผลกระทบจากภัยพิบัติในครั้งนี้ด้วยความรวดเร็วทันต่อสถานการณ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- -เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าชุดยา/เวชภัณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนตำบลสะเตงนอกได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพที่ตามมาจากน้ำท่วม
2.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าชุดยา/เวชภัณฑ์
วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทีมเยี่ยมสำรวจปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ (เน้นกลุ่มยากไร้ มีโรคเรื้อรัง พิการ ผู้สูงอายุ)
2.ประชุมพิจารณาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการช่วยเหลือป้องกันประชาชนจากโรคระบาดที่มากับน้ำ
3.เยี่ยมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย
4.จัดหายา/เวชภัณฑ์เพื่อจัดบริการในชุมชนช่วงอุทกภัย ได้แก่ ยาสามัญประจำบ้านครัวเรือนละ 1 ชุด ยาที่จำเป็นเพื่อการรักษา/ป้องกันโรค เช่น ยาทารักษาโรคน้ำกัดเท้า ชุดทำแผลแบบใช้ครั้งเดียว
5.ลงพื้นที่แจกจ่ายยา เวชภัณฑ์แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง และการจัดสิ่งแวดล้อมหลังอุทกภัย
6.สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนตำบลสะเตงนอกได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพที่ตามมาจากน้ำท่วม
2.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้ดำเนินการจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัยระลอก 2 ในปีงบประมาณ 2566 วัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมดังนี้
1 จัดทีมเยี่ยมสำรวจปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ (เน้นกลุ่มยากไร้ มีโรคเรื้อรัง พิการ ผู้สูงอายุ)
2.ประชุมพิจารณาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการช่วยเหลือป้องกันประชาชนจากโรคระบาดที่มากับน้ำ
3.เยี่ยมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย
4.จัดหายา/เวชภัณฑ์เพื่อจัดบริการในชุมชนช่วงอุทกภัย ได้แก่ สามัญประจำบ้านครัวเรือนละ 1 ชุดยาที่จำเป็นเพื่อการรักษา/ป้องกันโรค เช่นยาทารักษาโรคน้ำกัดเท้า ชุดทำแผลแบบใช้ครั้งเดียว
5.ลงพื้นที่แจกจ่ายยา เวชภัณฑ์แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง และการจัดสิ่งแวดล้อมหลังอุทกภัย
จากการดำเนินงานในช่วง เดือนธันวาคม 2566 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 300 ครัวเรือน ได้รับยาที่จำเป็นในการป้องกันโรค ไม่เกิดปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย มีความเข้าใจในการดูแลด้านสุขอนามัยที่เหมาะสม และประชาชนมีความพึงพอใจที่ได้รับยาสามัญประจำบ้าน ไว้ใช้ยามจำเป็นในครัวเรือน
• บรรลุตามวัตถุประสงค์ ดังนี้
ด้านปริมาณ
-ประชาชนในตำบลสะเตงนอกที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย จำนวน 300 ครัวเรือน มียาและเวชภัณฑ์ในป้องกันและรักษาปํญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้น
ด้านคุณภาพ
-ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัยไม่เกิดปัญหาทางสุขภาพที่รุนแรงถึงแก่ชีวิต และมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาวะอนามัยเบื้องต้นได้เหมาะสม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
-เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ตัวชี้วัด :
0.00
300.00
ประชาชนในตำบลสะเตงนอกที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย จำนวน 300 ครัวเรือน มียาและเวชภัณฑ์ในป้องกันและรักษาปํญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้น
ด้านคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าชุดยา/เวชภัณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาฟีซา การี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาฟีซา การี
มกราคม 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 ธันวาคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 ธันวาคม 2565 - 31 มกราคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา ฉบับที่ 11 (357/2565) ลงวันที่ 19 ธันวาคม ๒๕๖๕ แจ้งว่าในช่วงวันที่ 19 - 20 ธันวาคม ๒๕๖๕ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้มีกำลังแรง ทำให้ภาคใต้ตอนล่างมีฝนตกหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส กระบี่ ตรังและสตูล ขอให้ประชาชนบริเวณภาคใต้ระวังอันตรายจากฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสมซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่ม
จากการพยากรณ์สภาพอากาศดังกล่าว ในพื้นที่ตำบลสะเตงนอกมีฝนตกหนักถึงหนักมากอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทำให้หลายหมู่บ้านเกิดน้ำท่วมเฉียบพลัน ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากภาวะอุทกภัย ทรัพย์สิน ที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหาย ไม่สะดวกต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน พื้นที่ตำบลสะเตงนอก เป็นพื้นที่ประสบภัยดังกล่าว จึงสามารถให้มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วม ตลอดจนถึงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้ว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่/ท้องถิ่น ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 10(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ได้
เทศบาลเมืองสะเตงนอก มีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ เช่น โรคทางเดิน
อาหารจากการดื่มน้ำ/รับประทานอาหารที่ปนเปื้อนหรือแหล่งน้ำ/บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วม โรคผิวหนัง น้ำกัดเท้า เป็นต้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการบรรเทาและป้องกันผลกระทบจากภัยพิบัติในครั้งนี้ด้วยความรวดเร็วทันต่อสถานการณ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- -เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าชุดยา/เวชภัณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนตำบลสะเตงนอกได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพที่ตามมาจากน้ำท่วม
2.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าชุดยา/เวชภัณฑ์ |
||
วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดทีมเยี่ยมสำรวจปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ (เน้นกลุ่มยากไร้ มีโรคเรื้อรัง พิการ ผู้สูงอายุ) 2.ประชุมพิจารณาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการช่วยเหลือป้องกันประชาชนจากโรคระบาดที่มากับน้ำ 3.เยี่ยมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย 4.จัดหายา/เวชภัณฑ์เพื่อจัดบริการในชุมชนช่วงอุทกภัย ได้แก่ ยาสามัญประจำบ้านครัวเรือนละ 1 ชุด ยาที่จำเป็นเพื่อการรักษา/ป้องกันโรค เช่น ยาทารักษาโรคน้ำกัดเท้า ชุดทำแผลแบบใช้ครั้งเดียว 5.ลงพื้นที่แจกจ่ายยา เวชภัณฑ์แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง และการจัดสิ่งแวดล้อมหลังอุทกภัย 6.สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนตำบลสะเตงนอกได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพที่ตามมาจากน้ำท่วม 2.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้ดำเนินการจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัยระลอก 2 ในปีงบประมาณ 2566 วัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ซึ่งได้ดำเนินกิจกรรมดังนี้
1 จัดทีมเยี่ยมสำรวจปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ (เน้นกลุ่มยากไร้ มีโรคเรื้อรัง พิการ ผู้สูงอายุ)
2.ประชุมพิจารณาเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการช่วยเหลือป้องกันประชาชนจากโรคระบาดที่มากับน้ำ
3.เยี่ยมผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพช่วงอุทกภัย
4.จัดหายา/เวชภัณฑ์เพื่อจัดบริการในชุมชนช่วงอุทกภัย ได้แก่ สามัญประจำบ้านครัวเรือนละ 1 ชุดยาที่จำเป็นเพื่อการรักษา/ป้องกันโรค เช่นยาทารักษาโรคน้ำกัดเท้า ชุดทำแผลแบบใช้ครั้งเดียว
5.ลงพื้นที่แจกจ่ายยา เวชภัณฑ์แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการป้องกันตนเอง และการจัดสิ่งแวดล้อมหลังอุทกภัย
จากการดำเนินงานในช่วง เดือนธันวาคม 2566 ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 300 ครัวเรือน ได้รับยาที่จำเป็นในการป้องกันโรค ไม่เกิดปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย มีความเข้าใจในการดูแลด้านสุขอนามัยที่เหมาะสม และประชาชนมีความพึงพอใจที่ได้รับยาสามัญประจำบ้าน ไว้ใช้ยามจำเป็นในครัวเรือน
• บรรลุตามวัตถุประสงค์ ดังนี้
ด้านปริมาณ
-ประชาชนในตำบลสะเตงนอกที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย จำนวน 300 ครัวเรือน มียาและเวชภัณฑ์ในป้องกันและรักษาปํญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้น
ด้านคุณภาพ
-ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัยไม่เกิดปัญหาทางสุขภาพที่รุนแรงถึงแก่ชีวิต และมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาวะอนามัยเบื้องต้นได้เหมาะสม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | -เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ตัวชี้วัด : |
0.00 | 300.00 | ประชาชนในตำบลสะเตงนอกที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย จำนวน 300 ครัวเรือน มียาและเวชภัณฑ์ในป้องกันและรักษาปํญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้น ด้านคุณภาพ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 300 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าชุดยา/เวชภัณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากภาวะอุทกภัย ระลอก 2 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาฟีซา การี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......