ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
งานสัตวแพทย์ ฝ่ายบริการสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 801,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
- เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้
- เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค)
- เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่
- สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าตอบแทนเจ้าหน้าภายนอกในการสำรวจ)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการสำรวจ)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารกลางวัน)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำดื่ม)
- กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าแผ่นพับ)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำดื่ม)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารกลางวัน)
- กิจกรรมการประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง)
- กิจกรรมทำหมันลิง
- กิจกรรมทำหมันลิง
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก)
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค)
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ)
- กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดความก้าวร้าวของลิง เพื่อลดปัญหาการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน
- จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง
- เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคสัตว์สู่คน
- ผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) สำหรับการป้องกันในเรื่องของโรคจากสัตว์สู่คน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม)
วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อาหารว่างสำหรับการประชุม จำนวน 50 ชุด ยอด 1,750 บาท ชุดละ 35 บาท
ประกอบไปด้วย
-น้ำดื่ม
-นมUHT
-ขนม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภายนอกและภายใน จำนวน 50 คน ได้รับประทานอาหารว่าง สำหรับวันประชุมแนวทางการจัดการต่างๆสำหรับโครงการ
50
0
2. กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าป้ายไวนิล)
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ไวนิล ขนาด 300 x 100 ซม.
- สำหรับติดในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
- จำนวน 10 ผืน ผืนละ 450 บาท
เป็นเงิน 4,500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อติดแจ้งประชาชนให้ทราบว่าเจ้าหน้าที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ตามโครงการดังกล่าวเพื่อความปลอดภัยของประชาชนและให้ประชาชนเข้าใจในสิ่งที่เจ้าหน้าที่กำลังปฏิบัติอยู่
0
0
3. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง)
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าเวชภัณฑ์ เช่นยาสลบ, ยาซึม ยาถ่ายพยาธิ, ยาฆ่าเชื้อ, อุปกรณ์ในการผ่าตัด, แผ่นรองซับ ฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถจับลิงมาผ่าตัดทำหมันได้ตามเป้าหมาย
0
0
4. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารลิง)
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารลิง เช่น ผลไม้ตามฤดูกาล, อาหารลิง, อาหารสุนัข สำหรับลิง จำนวน 150 ตัว ระยะเวลา 10 วัน เป็นเงิน 30,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถล่อลิง เพื่อจับไปทำหมันได้
0
0
5. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าตอบแทน)
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าตอบแทน จำนวน 20 คน คนละ 240บาท / วัน
วันละ 4,800 บาท
จำนวน 10 วัน 48,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกที่ได้ร่วมทำหมันลิง
0
0
6. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง)
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 10 วัน
- รถกระบะ จำนวน 4 คัน
- รถบรรทุก จำนวน 1 คัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เป็นเชื้อเพลิงสำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการใช้รถสำหรับทำหมันลิง เคลื่อนย้ายลิง หรือตรวจสอบแต่ละจุดที่ดักจับลิง
0
0
7. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก)
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าที่พักสำหรับ
1.เจ้าหน้าที่วางกรงดักจับ
2.ทีมสัตวแพทย์ ผู้ช่วยจากกรมอุทยานแห่งชาติ (วางยาสลบลิง, เตรียมตัวสัตว์ก่อนผ่าตัด, ทีมดูแลสัตว์หลังผ่าตัด)
3.เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ทำประวัติลิง ทำเครื่องหมายประจำตัวลิง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกสามารถเข้าพักได้ระหว่างการทำโครงการทำหมันลิง
20
0
8. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ)
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าส่งตรวจผลเลือดลิงทำหมันสุ่ม 15 ตัว ตรวจ 5 โรค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้ทราบถึงผลตรวจจากลิงภายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างในโรคที่สามารถแพร่กระจายหรือสู่คนได้ เพื่อเป็นแนวทางการป้องกันในอนาคตต่อไป
0
0
9. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค)
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าตรวจโรคที่สำคัญ โรคละ 500 x จำนวน 3 โรค จำนวน 15 ตัวอย่าง เป็นเงิน 37,500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบผลการตรวจเลือดของลิง ที่เป็นโรคความเสี่ยงที่สามารถแพร่เชื้อสู่คนได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : ลดความก้าวร้าวของลิง และมีการทำทะเบียนประชากรลิงเพื่อรู้จำนวนประชากรลิงในบริเวณพื้นที่สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
2
เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว
ตัวชี้วัด : จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง
3
เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้
ตัวชี้วัด : ทราบว่าลิงที่อาศัยอยู่ในบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ มีความเสี่ยงต่อโรคสัตว์สู่คนหรือไม่
4
เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค)
ตัวชี้วัด : สามารถทราบผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อตรวจหาเชื้อโปรโตซัว จากเลือดของลิง เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) หรือไม่
5
เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : โดยการลดประชากรลิงด้วยวิธีการเคลื่อนย้ายลิงไปยังเกาะ...........
6
สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
ตัวชี้วัด : การจัดระบบการกำจัดขยะหรือสิ่งที่เป็นอาหารให้กับลิง เพราะจะเป็นการดึงดูดให้ลิงออกมานอกพื้นที่อนุรักษ์
- ชาวบ้าน และนักท่องเที่ยว มีความเข้าใจในเรื่องลิงมากขึ้น
- การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเจอลิง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
300
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว (3) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ (4) เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค) (5) เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ (6) สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าตอบแทนเจ้าหน้าภายนอกในการสำรวจ) (2) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการสำรวจ) (3) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารกลางวัน) (4) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม) (5) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำดื่ม) (6) กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าแผ่นพับ) (7) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำดื่ม) (8) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม) (9) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารกลางวัน) (10) กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ (11) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง) (12) กิจกรรมทำหมันลิง (13) กิจกรรมทำหมันลิง (14) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) (15) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก) (16) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค) (17) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ) (18) กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( งานสัตวแพทย์ ฝ่ายบริการสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
งานสัตวแพทย์ ฝ่ายบริการสิ่งแวดล้อม
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 15 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7258-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 801,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
- เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้
- เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค)
- เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่
- สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าตอบแทนเจ้าหน้าภายนอกในการสำรวจ)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการสำรวจ)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารกลางวัน)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม)
- กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำดื่ม)
- กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าแผ่นพับ)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำดื่ม)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารกลางวัน)
- กิจกรรมการประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง)
- กิจกรรมทำหมันลิง
- กิจกรรมทำหมันลิง
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง)
- กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก)
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค)
- กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ)
- กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 300 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดความก้าวร้าวของลิง เพื่อลดปัญหาการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน
- จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง
- เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคสัตว์สู่คน
- ผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) สำหรับการป้องกันในเรื่องของโรคจากสัตว์สู่คน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม) |
||
วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำอาหารว่างสำหรับการประชุม จำนวน 50 ชุด ยอด 1,750 บาท ชุดละ 35 บาท
ประกอบไปด้วย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภายนอกและภายใน จำนวน 50 คน ได้รับประทานอาหารว่าง สำหรับวันประชุมแนวทางการจัดการต่างๆสำหรับโครงการ
|
50 | 0 |
2. กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าป้ายไวนิล) |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำไวนิล ขนาด 300 x 100 ซม. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อติดแจ้งประชาชนให้ทราบว่าเจ้าหน้าที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ตามโครงการดังกล่าวเพื่อความปลอดภัยของประชาชนและให้ประชาชนเข้าใจในสิ่งที่เจ้าหน้าที่กำลังปฏิบัติอยู่
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง) |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าเวชภัณฑ์ เช่นยาสลบ, ยาซึม ยาถ่ายพยาธิ, ยาฆ่าเชื้อ, อุปกรณ์ในการผ่าตัด, แผ่นรองซับ ฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถจับลิงมาผ่าตัดทำหมันได้ตามเป้าหมาย
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารลิง) |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าอาหารลิง เช่น ผลไม้ตามฤดูกาล, อาหารลิง, อาหารสุนัข สำหรับลิง จำนวน 150 ตัว ระยะเวลา 10 วัน เป็นเงิน 30,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถล่อลิง เพื่อจับไปทำหมันได้
|
0 | 0 |
5. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าตอบแทน) |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าตอบแทน จำนวน 20 คน คนละ 240บาท / วัน วันละ 4,800 บาท จำนวน 10 วัน 48,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกที่ได้ร่วมทำหมันลิง
|
0 | 0 |
6. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 10 วัน - รถกระบะ จำนวน 4 คัน - รถบรรทุก จำนวน 1 คัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นเชื้อเพลิงสำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการใช้รถสำหรับทำหมันลิง เคลื่อนย้ายลิง หรือตรวจสอบแต่ละจุดที่ดักจับลิง
|
0 | 0 |
7. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก) |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าที่พักสำหรับ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกสามารถเข้าพักได้ระหว่างการทำโครงการทำหมันลิง
|
20 | 0 |
8. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ) |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าส่งตรวจผลเลือดลิงทำหมันสุ่ม 15 ตัว ตรวจ 5 โรค ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้ทราบถึงผลตรวจจากลิงภายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างในโรคที่สามารถแพร่กระจายหรือสู่คนได้ เพื่อเป็นแนวทางการป้องกันในอนาคตต่อไป
|
0 | 0 |
9. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค) |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าตรวจโรคที่สำคัญ โรคละ 500 x จำนวน 3 โรค จำนวน 15 ตัวอย่าง เป็นเงิน 37,500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบผลการตรวจเลือดของลิง ที่เป็นโรคความเสี่ยงที่สามารถแพร่เชื้อสู่คนได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ตัวชี้วัด : ลดความก้าวร้าวของลิง และมีการทำทะเบียนประชากรลิงเพื่อรู้จำนวนประชากรลิงในบริเวณพื้นที่สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ |
|
|||
2 | เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว ตัวชี้วัด : จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ ตัวชี้วัด : ทราบว่าลิงที่อาศัยอยู่ในบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ มีความเสี่ยงต่อโรคสัตว์สู่คนหรือไม่ |
|
|||
4 | เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค) ตัวชี้วัด : สามารถทราบผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อตรวจหาเชื้อโปรโตซัว จากเลือดของลิง เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) หรือไม่ |
|
|||
5 | เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ ตัวชี้วัด : โดยการลดประชากรลิงด้วยวิธีการเคลื่อนย้ายลิงไปยังเกาะ........... |
|
|||
6 | สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง ตัวชี้วัด : การจัดระบบการกำจัดขยะหรือสิ่งที่เป็นอาหารให้กับลิง เพราะจะเป็นการดึงดูดให้ลิงออกมานอกพื้นที่อนุรักษ์ - ชาวบ้าน และนักท่องเที่ยว มีความเข้าใจในเรื่องลิงมากขึ้น - การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเจอลิง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 300 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว (3) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ (4) เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค) (5) เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ (6) สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าตอบแทนเจ้าหน้าภายนอกในการสำรวจ) (2) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการสำรวจ) (3) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารกลางวัน) (4) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม) (5) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำดื่ม) (6) กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าแผ่นพับ) (7) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำดื่ม) (8) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม) (9) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารกลางวัน) (10) กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ (11) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง) (12) กิจกรรมทำหมันลิง (13) กิจกรรมทำหมันลิง (14) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) (15) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก) (16) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค) (17) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ) (18) กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 66-L7258-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( งานสัตวแพทย์ ฝ่ายบริการสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......