กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการ ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
น.ส.คอรีเย๊าะ ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L4117-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L4117-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยแมลง ยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขระดับต้นๆของประเทศ เช่นโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรีย เป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาทางพยาบาลและทำให้เกิดความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ การแพร่ระบาดของโรคติดต่ออนำโดยแมลงในปัจจุบันเป็นวิกฤติด้านสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก เพราะการติดต่อและแพร่ระบาดของโรครวดเร็วขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนในแง่การเจ็บไข้ได้ป่วย การพิการและการเสียชีวิตของประชาชน เนื่องจากความรุนแรงของโรค ซึ่งประชาชนมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและภัยสุขภาพด้วยกันทุกคน ปัญหาด้านสาธารณสุขในปัจจุบันเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่ นับได้ว่าเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง สำหรับข้อมูลสถานการณ์โรคติดต่อโดยแมลงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลูโบ๊ะปันยัง พบผู้ป่วยที่เป็นมาลาเรียตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563- 1 ธันวาคม 2565 พบจำนวน 13 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 276.71 ต่อแสนประชากรและ พบผู้ป่วยที่เป็นไข้เลือดออกตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563- 1 ธันวาคม 2565 พบจำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 85.14 ต่อแสนประชากร
เพื่อเป็นการป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่นำโดยแมลง ซึ่งเป็นโรคที่เป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน สร้างผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพของผู้ป่วยและครอบครัว รวมถึงส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายทางภาครัฐด้านการรักษาพยาบาลส่งผลให้เกิดความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศตามลำดับนั้น ดังนั้นการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพนี้ จึงต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องต่อไปเพื่อลดผลกระทบจากโรคที่เกิดขึ้นนี้ไม่ให้แพร่กระจาย และไม่ให้เป็นปัญหาในพื้นที่จึงมีความจำเป็นต้องอาศัยหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ในการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา พร้อมทั้งประสานการดำเนินงานให้สามารถควบคุมการระบาดให้สงบได้อย่างรวดเร็วอย่างทันท่วงที ตลอดจนการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับทัพยากรในชุมชน และเทคโนโลยี เกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านลูโบ๊ะปันยังเล็งเห็นว่าถึงความสำคัญของโรคติดต่อนำโดยแมลงในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566 ขึ้นเพื่อเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตลอดจนนำไปสู่การมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอย่างถ้วนหน้าต่อไป และให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง/เลี้ยงปลาหางนกยูงเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลาย /ถางหญ้าริมคลอง (คลองเจะแป๊ะ ม.6 ต.บาละ) กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ และออก สำรวจลูกน้ำยุงลายและยุงก้นปล่อง โดยประชาชนในหมู่บ้าน และอสม.ม.6 บาละ จำนวน 30 คน / พ่นหมอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้มาลาเรียลดลง
2. ลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้มาลาเรีย
3. ทุกภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีความตื่นตัวในการควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังของโรคติดต่อนำโดยแมลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง/เลี้ยงปลาหางนกยูงเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลาย /ถางหญ้าริมคลอง (คลองเจะแป๊ะ ม.6 ต.บาละ) กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ และออก สำรวจลูกน้ำยุงลายและยุงก้นปล่อง โดยประชาชนในหมู่บ้าน และอสม.ม.6 บาละ จำนวน 30 คน / พ่นหมอ

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง/เลี้ยงปลาหางนกยูงเฝ้าระวังลูกน้ำยุงลาย /ถางหญ้าริมคลอง (คลองเจะแป๊ะ ม.6 ต.บาละ) กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ และออก  สำรวจลูกน้ำยุงลายและยุงก้นปล่อง โดยประชาชนในหมู่บ้าน และอสม.ม.6 บาละ จำนวน 30 คน / พ่นหมอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยโรคติดต่อนำโดยแมลงปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L4117-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.คอรีเย๊าะ ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด