กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 ”

ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกรุณา วิสโยภาส

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3355-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3355-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยจะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโต เป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต แต่การที่เด็กจะดีหรือเป็นเด็กดีได้นั้นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการมีสุขภาพที่ดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตเพราะเมื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีหรือมีโรคภัยไข้เจ็บก็ไม่มีพลังที่จะพัฒนาตัวเองให้เป็นเด็กดีและเด็กเก่งได้เท่ากับผู้ที่มีสุขภาพที่ดี แต่ในปัจจะบันประเทศไทยอยู่ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่อย่างต่อเนื่อง ทำให้คนเราต้องดิ้นรนทำมาหาเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว จนไม่มีเวลาดูแลเด็กหรือบุตรด้วยตนเองซึ่งทำให้เกิดปัญหากับสุขภาพแก่เด็กการดูแลด้านสาธารณสุขสำหรับเด็กที่ควรได้รับ เช่นการส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก0-6 ปี การส่งเสริมเด็ก เพื่อให้เด็กมีสุขภาพดีในทุกด้าน จากผลการดำเนินงานตามโครงการหนูน้อยสุขภาพดี ในปีงบประมาณ 2565 ด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปีตำบลท่ามิหรำ ที่ต้องได้รับการตรวจพัฒนาการจำนวน 152 คน หลังจากการดำเนินการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ทาง รพ.สต. บ้านน้ำเลือด มีการตรวจติดตามพัฒนาการทุกเดือน ในเด็กที่มีอายุครบ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน พบเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยทันที 97 คน คิดเป็นร้อยละ 63.31 พบเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยทันที จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.67 ได้รับการรักษาที่ รพ .พัทลุง รักษาต่อเนื่อง เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น และพบเด็ก และพบเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 35.52หลังแนะนำการกระตุ้นพัฒนาการเด็กแก่ผุ้ปกครอง นัดมาตรวจพัฒนาการอีก 1 เดือน พบมีพัฒนาการสมวัยจำนวน54 คน ไม่พบมีพัฒนาการไม่สมวัย จะเห็นได้ว่าการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก มีความสำคัญมาก จำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัย จะได้รับการกระตุ้นและรักษาอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมเด็กที่มีพัฒนาการที่สมวัยให้มีพัฒนาการที่ปกติตามวัย ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เพื่อป้องกันโรคฟันผุเด็ก 0-6 ปี จำนวน 200 คน พบว่า มีฟันน้ำนมผุ จำนวน 63 คนติดเป็นร้อยละ 31.50มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็ก เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กมากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กมากขึ้นลดโรคฟันผุในเด็ก ด้านภาวะโภชณาการของเด็ก 0-6 ปีพบว่า มีน้ำหนักต่ำหว่าเกณฑ์ จำนวน 30 คน น้ำหนักเกินเกณฑ์ 10 คน หลังจากดำเนินโครงการ โดยจัดอบรมและจ่ายนม UHT พบว่าหลังจากเด็กได้ดื่มนมอย่างต่อเนื่อง มีเด็กที่น้ำหนักเพิ่มขึ้น เป็นน้ำหนักตามเกณฑ์จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.67 และ เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักปกติ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ดังนั้นการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กจึงต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ รพ.สต. บ้านน้ำเลือด กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่ามิหรำ และเทศบาลตำบลท่ามิหรำ เห็นว่าโครงการนี้ ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ปกครองต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในแต่ละด้านแต่ละช่วงวัยเพื่อให้สามารถค้นพบเด็กที่มีปัญหารายใหม่และให้ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงทีและลดอัตราการเจ็บป่วยของเด็กปฐมวัย อันจะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพของประเทศชาติในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การส่งเสริมพัฒนาการเด็กการดูแลสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการสมวัยและเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
  2. ลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กปฐมวัย 4.เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการที่ปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การส่งเสริมพัฒนาการเด็กการดูแลสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3355-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรุณา วิสโยภาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด