กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ปีงบประมาณ 2566 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ




ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8408-92566 เลขที่ข้อตกลง 9/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-92566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,210.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่ออันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง ทั้งการกิน การนอน การพักผ่อน การออกกำลังกาย และการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญของโลก เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ 3 แสนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย (กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค , 2564) จากการสำรวจสถานการณ์ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา พ.ศ. 2563 – 2565 ในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.แป-ระ ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ คิดเป็น 306.95, 353.87 และ 350.82 ต่อแสนประชากรตามลำดับ และมีอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็น 597.74, 514.72 และ 590.02 ต่อแสนประชากรตามลำดับ อีกทั้งมีประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน คิดเป็นร้อยละ 97.76 , 90.15 และ 96.15 ตามลำดับ มีประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 0.00 , 3.08 และ 4.08 ตามลำดับ และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมได้ จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 34.40 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมได้ จำนวน 263 คน คิดเป็นร้อยละ 47.39 (HDC สตูล, 2565) ซึ่งยังถือว่าน้อย และจะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี การที่กลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจะปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมและสามารถควบคุมโรคให้ได้ผลดีในระยะยาวต้องเกิดจากความต้องการดูแลตนเองของผู้ป่วยเป็นสำคัญ มีการวางเป้าหมายของการเรียนรู้ และการปรับพฤติกรรมตามความต้องการของตนเอง เมื่อมีการดูแลตนเองในระดับที่เพียงพออย่างต่อเนื่องและกระทำอย่างมีประสิทธิภาพจะนำไปสู่การดำรงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดี ตามทฤษฎีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ดังนั้นการพัฒนาทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ. 2ส. จึงเป็นวิธีการที่ที่จะช่วยให้สามารถดูแลตนเองและป้องกันโรคได้ อีกทั้งการเน้นพัฒนาศักยภาพระบบเฝ้าระวังโดยการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยส่งเสริมให้ อสม. เข้ามามีส่วนร่วมในการคัดกรองร่วมกับเจ้าหน้าที่ เพื่อให้รับรู้ปัญหาสุขภาพของชุมชน รู้ถึงสาเหตุของการป่วยเป็นโรค เข้ามามีบทบาทในการเป็นผู้นำการการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาสุขภาพได้อย่างเป็นรูปธรรมก็เป็นวิธีการที่สำคัญเช่นกันที่จะช่วยลดความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนของจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ จึงได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3อ. 2ส. ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อให้ได้รับความรู้ทักษะในการจัดการตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยง ป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายในชุมชนให้ช่วยดูแลติดตามผู้ป่วย และพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส
  2. 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส
  3. 3 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส
  4. 4 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส
  5. 5 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีทักษะการตรวจน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ. 2 ส.
  2. พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย(กลุ่มเสี่ยง, กลุ่มป่วย)
  3. แกนนำอสม.เชี่ยวชาญด้านโรคเบาหวานและความดันโลหิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย(กลุ่มเสี่ยง, กลุ่มป่วย)

วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รพ.สต.แป-ระ จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย(กลุ่มเสี่ยง, กลุ่มป่วย) จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน แยกเป็น กลุ่มเสี่ยง 50 คน และ กลุ่มป่วย 50 คน มีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นในทุกด้าน

 

100 0

2. แกนนำอสม.เชี่ยวชาญด้านโรคเบาหวานและความดันโลหิต

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รพ.สต.แป-ระ จัดกิจกรรม อบรม แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญด้านโรคเบาหวานและความดัน ณ ห้องประชุม รพ.สต.แป-ระ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ภายใต้โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ. 2 ส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำ อสม.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 60 คน ได้รับความรู้ และฝึกความชำนาณในการคัดกรอง ประเมิน ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถปฏิบัติภารกิจงาน อสม.ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมะสม

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส
ตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมโครงการประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตามหลัก 3อ. 2ส. ในระดับดีขึ้นไป
0.00

 

2 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส
ตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมโครงการประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส ในระดับดีขึ้นไป
0.00

 

3 3 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส
ตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมโครงการแกนนำอสม.เชี่ยวชาญมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส. ในระดับดีขึ้นไป
0.00

 

4 4 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส
ตัวชี้วัด : หลังเข้าร่วมโครงการแกนนำอสม.เชี่ยวชาญมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส ในระดับดีขึ้นไป
0.00

 

5 5 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีทักษะการตรวจน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : แกนนำอสม.เชี่ยวชาญมีทักษะการตรวจน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส (2) 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส (3) 3 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีความรอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส (4) 4 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. 2ส (5) 5 เพื่อให้แกนนำ อสม.เชี่ยวชาญมีทักษะการตรวจน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูงที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ. 2 ส. (2) พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย(กลุ่มเสี่ยง, กลุ่มป่วย) (3) แกนนำอสม.เชี่ยวชาญด้านโรคเบาหวานและความดันโลหิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8408-92566

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด