กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566 ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายถนอม คงเพชร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-2-02 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,865.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งวัยเด็กเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญหาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆและอาหารก็มีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เด็กวัยเรียนเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกายด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐกิจ จากการตรวจสุขภาพนักเรียนของโรงเรียนเทศบาล6(ประชาสันติ์) ประจำปีการศึกษา 2565 ทั้งหมด จำนวน 137 คน พบว่า นักเรียนที่มีภาวะสูงดีสมส่วน จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 57.66 ภาวะอ้วน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 9.48 น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อย16.06 และเตี้ย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 16.78 จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนเทศบาล6(ประชาสันติ์) จึงได้เสนอโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดีสมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนและที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและรู้ถึงประโยชน์ของผัก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมโภชนาการเด็ก
  2. อบรมให้ความรู้
  3. สาธิตปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. กิจกรรมสาธิตปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  5. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก
  6. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครอง 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
  2. เด็กวัยเรียนได้รับการประเมินและส่งเสริมภาวะ โภชนาการด้านสุขภาพอนามัยได้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสาธิตปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกๆ เดือน
        3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสุมดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก     4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ     5. อบรมครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
                  5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของภาวะโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย(ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.2 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.3 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย”(ผู้ปกครอง)     5.3.1 การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย     5.3.2 โรคขาดสารอาหาร ภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์     5.3.3 โรคอ้วน โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง

5.4 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “อาหารหลัก 5 หมู่และธงโภชนาการ 6 กลุ่ม”(ผู้ปกครอง)     5.4.1  อาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
    5.4.2 ปริมาณวัตถุดิบในการจัดอาหาร
    5.4.3 การเลือกซื้อ การเตรียม การปรุงอาหาร
    5.4.4 ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใน 1 วัน 5.5 บรรยายให้ความรู้เรื่อง“การจัดสิ่งแวดล้อมและการสร้างสุขนิสัยที่ดีสำหรับเด็กในการรับประทานอาหาร(ผู้ปกครอง) **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่6 ฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก เพื่อเสริมโภชนาการในเด็กได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกๆ เดือน
        3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสุมดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก     4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ     5. อบรมครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
                  5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของภาวะโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย(ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.2 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.3 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย”(ผู้ปกครอง)     5.3.1 การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย     5.3.2 โรคขาดสารอาหาร ภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์     5.3.3 โรคอ้วน โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง

5.4 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “อาหารหลัก 5 หมู่และธงโภชนาการ 6 กลุ่ม”(ผู้ปกครอง)     5.4.1  อาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
    5.4.2 ปริมาณวัตถุดิบในการจัดอาหาร
    5.4.3 การเลือกซื้อ การเตรียม การปรุงอาหาร
    5.4.4 ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใน 1 วัน 5.5 บรรยายให้ความรู้เรื่อง“การจัดสิ่งแวดล้อมและการสร้างสุขนิสัยที่ดีสำหรับเด็กในการรับประทานอาหาร(ผู้ปกครอง) **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่6 ฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน จำนวน  105 คน พบว่า จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรมจากชุดเดียวกัน พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการอบรม อยู่ที่ ( x = 5.34) ( S.D.=0.98)
ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการอบรม อยู่ที่ ( x = 5.48) ( S.D.=1.93)

 

207 0

3. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก

วันที่ 7 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกๆ เดือน
        3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสุมดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก     4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ     5. อบรมครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
                  5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของภาวะโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย(ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.2 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.3 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย”(ผู้ปกครอง)     5.3.1 การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย     5.3.2 โรคขาดสารอาหาร ภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์     5.3.3 โรคอ้วน โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง

5.4 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “อาหารหลัก 5 หมู่และธงโภชนาการ 6 กลุ่ม”(ผู้ปกครอง)     5.4.1  อาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
    5.4.2 ปริมาณวัตถุดิบในการจัดอาหาร
    5.4.3 การเลือกซื้อ การเตรียม การปรุงอาหาร
    5.4.4 ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใน 1 วัน 5.5 บรรยายให้ความรู้เรื่อง“การจัดสิ่งแวดล้อมและการสร้างสุขนิสัยที่ดีสำหรับเด็กในการรับประทานอาหาร(ผู้ปกครอง) **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่6 ฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนนักเรียน 22 คน มีพัฒนาการจากน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ดังนี้ -เกณฑ์ที่ดีสมส่วน จำนวน 20 คน -น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 2 คน

 

22 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90ของ เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและรู้ถึงประโยชน์ของผัก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครอง นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและรู้ถึงประโยชน์ของผัก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 207
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครอง 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและรู้ถึงประโยชน์ของผัก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมโภชนาการเด็ก (2) อบรมให้ความรู้ (3) สาธิตปลูกผักปลอดสารพิษ (4) กิจกรรมสาธิตปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก (5) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก (6) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน สมวัย หนูน้อยโรงเรียนเทศบาล 6 (ประชาสันติ์) ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายถนอม คงเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด