กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลียงโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา กาฬแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลียงโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2566/L2979/1/07 เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลียงโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลียงโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลียงโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 2566/L2979/1/07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมโลกตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้ชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย ภาวะเครียดทำให้มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งเป็นโรคจากพฤติกรรมดังกล่าว และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือดในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง รพ.สต. กับ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชน จะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลี่ยง โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนที่รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน และมีความเสี่ยง (ความดันโลหิต มากกว่า หรือเท่ากับ 140/90 mm/hg และระดับน้ำตาลในเลือด แบบงดอาหาร ตั้งแต่ 100-125 mg/dl ค่าดัชนีมวลกาย มากกว่า 28 และรอบเอวเกินมาตรฐานผู้ชาย 90 cm ผู้หญิง 80 cm ที่จะเกิดโรคได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยใช้หลัก3 อ. 2 ส. ไม่ให้ป่วยเป็นโรคเรื้อรังซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่เป็นมาจากปี งบประมาณ ที่ผ่านมา แต่จะคัดเลือก ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ที่สมัครใจ เข้าโครงการก่อน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแล มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบมรมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรอง (ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 7 เครื่อง ๆ ละ 1200 และค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง 2000 บาท)
  3. ประชุมติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ครั้งที่ 1และ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบมรมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ

- สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย - ประชุมและอบรมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน - ประชาสัมพันธ์โครงการอย่างต่อเนื่องให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรับรู้ - แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวานแก่ อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ขั้นดำเนินการ           - ประชุมชี้แจง อสม.ในการคัดกรอง และทบทวนความรู้ในการตรวจวัดความดัน และการเจาะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาล และการแปรผล ในแต่ละกลุ่ม - ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองตามแผนงาน - สรุปผลการคัดกรองแยกกลุ่มผู้ที่พบภาวะเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษา -รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการและคัดเลือก จำนวน 100 คน และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ดังนี้
-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 3 อ. 2 ส. โดยจัดเป็นกลุ่มสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติตน  ประสบการณ์  เสริมพลังพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมายซึ่งจะนำมาสู่ความเชื่อและการปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน และทำแบบทดสอบความรู้และทัศนคติก่อนและหลังการอบรม ให้ความรู้ในหัวข้อเรื่อง - ความรู้เรื่อง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง - อาหารเพื่อสุขภาพ - การออกกำลังกาย - นัดทำกิจกรรมกลุ่มต่อเนื่อง ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง  และให้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติตัว
- ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ - ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย - ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ - สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ 3. ประเมินผลการดำเนินงาน 4. ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง

 

100 0

2. อบมรมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ

- สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย - ประชุมและอบรมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน - ประชาสัมพันธ์โครงการอย่างต่อเนื่องให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรับรู้ - แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวานแก่ อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ขั้นดำเนินการ           - ประชุมชี้แจง อสม.ในการคัดกรอง และทบทวนความรู้ในการตรวจวัดความดัน และการเจาะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาล และการแปรผล ในแต่ละกลุ่ม - ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองตามแผนงาน - สรุปผลการคัดกรองแยกกลุ่มผู้ที่พบภาวะเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษา -รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการและคัดเลือก จำนวน 100 คน และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ดังนี้
-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 3 อ. 2 ส. โดยจัดเป็นกลุ่มสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติตน  ประสบการณ์  เสริมพลังพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมายซึ่งจะนำมาสู่ความเชื่อและการปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน และทำแบบทดสอบความรู้และทัศนคติก่อนและหลังการอบรม ให้ความรู้ในหัวข้อเรื่อง - ความรู้เรื่อง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง - อาหารเพื่อสุขภาพ - การออกกำลังกาย - นัดทำกิจกรรมกลุ่มต่อเนื่อง ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง  และให้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติตัว
- ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ - ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย - ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ - สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ 3. ประเมินผลการดำเนินงาน 4. ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง

 

100 0

3. ค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรอง (ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 7 เครื่อง ๆ ละ 1200 และค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง 2000 ชุด)

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์
  • ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย
  • ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ
  • ประเมินผลการดำเนินงาน
  • ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง

 

0 0

4. ค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรอง (ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 7 เครื่อง ๆ ละ 1200 และค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง 2000 ชุด)

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์
  • ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย
  • ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ
  • ประเมินผลการดำเนินงาน
  • ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง

 

0 0

5. ประชุมติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ครั้งที่ 1และ 2

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • นัดทำกิจกรรมกลุ่มต่อเนื่อง ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง  และให้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติตัว
  • ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์
  • ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย
  • ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ
  1. ประเมินผลการดำเนินงาน
  2. ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อัตราการคัดกรองประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ 90

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยสงสัยรายใหม่ส่งต่อพบแพทย์อย่างเป็นระบบ ร้อยละ100

 

3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแล มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : อัตราประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแล มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ60

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแล มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบมรมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) ค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรอง (ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 7 เครื่อง ๆ ละ 1200 และค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง 2000 บาท) (3) ประชุมติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ครั้งที่ 1และ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง หลีกเลียงโรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 2566/L2979/1/07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา กาฬแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด