โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัด หะยีสามะ ตำแหน่ง นักวิชการสาธารณสุขชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดนโยบายการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อบรรลุเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกและการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาล โดยขึ้นทะเบียนโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเทศไทย ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และให้แจ้งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ดำเนินการถังขยะเปียกในระดับครัวเรือนให้ครอบคุลมทุกครัวเรือน เทศบาลตำบลตอหลัง ได้ดำเนินการโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ในกลุ่มแกนนำชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน, แกนนำหมู่บ้าน, อสม., อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก และประชาชนในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง รวมทั้งหมด จำนวน 120 คน สามารถชี้แจงให้กลุ่มแกนนำชุมชนเข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง ลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปหลุมฝังกลบและลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน และนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน เพราะการย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ย ซึ่งเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ และสามารถใช้บริบทของชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลาม ตามหลักคำสอนเรื่องความสะอาด ความว่า “แท้จริงอัลลอฮฺจะโปรดผู้ที่สำนึกตัวและชอบผู้ที่รักษาความสะอาด” [อัลบะเกาะเราะฮฺ :222] เพื่อสร้างความร่วมมือของประชาชนในการบริหารจัดการขยะ ทิ้งขยะถูกวิธีและลดปริมาณขยะในชุมชน และเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน สามารถชี้แจงประชาชนให้เข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และได้รับผลบุญจากการรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
- เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
- เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการฯ
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ
- ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการทิ้งขยะได้บุญ
- เยี่ยมเยียนและติดตามผล
- สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์
- ประชุมชี้แจงโครงการฯ
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 1 ตำบลตอหลัง
- จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทและป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง
- เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
- สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
381
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ใช้หลักการศาสนาอิสลามในการกระตุ้นให้ประชาชนสามารถกำจัดขยะถูกวิธี ทิ้งขยะถูกวิธี คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ง่ายต่อการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องส่งไปกำจัด
- เพื่อสร้างความร่วมมือของประชาชนให้เข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน สามารถชี้แจงประชาชนให้เข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปหลุมฝังกลบและลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน
- ผู้นำท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อาสาสมัครรักษ์โลก และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย โดยเฉพาะที่ต้นทาง ตามนโยบายการคัดแยกขยะที่ต้นทาง “ตอหลังตำบลสะอาดอย่างยั่งยืน” นำไปสู่ “ปัตตานีจังหวัดสะอาดอย่างยั่งยืน”
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงโครงการฯ
วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงโครงการฯ กำหนดเป้าหมายในการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายรับทราบโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ
0
0
2. กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 1 ตำบลตอหลัง
วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ ทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยทีมแกนนำสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ให้ความรู้ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และการกำจัดขยะในครัวเรือน โดยการลด คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทางอย่างน้อย ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และผู้นำศาสนาใช้คำสอนตามหลักการเรื่องความสะอาด ผลบุญจากการรักษาความสะอาด และให้กับแกนนำครอบครัวของครัวเรือน ในพื้นที่เทศบาลตำบลตอหลัง โดยแบ่งเป็น 3 หมู่บ้าน จำนวน 381 ครัวเรือน และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1) จำนวนครัวเรือนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91
2) ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
129
0
3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทและป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการทิ้งขยะได้บุญ ทิ้งขยะถูกวิธีและลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะมูลฝอย อย่างน้อย ๔ ประเภท ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ประชาสัมพันธ์ทั้ง 3 หมู่บ้าน และที่สำนักงานเทศบาลตำบลตอหลัง จำนวน 4 จุด จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทในพื้นที่ตำบลตอหลัง และป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 %
0
0
4. กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง
วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ ทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยทีมแกนนำสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ให้ความรู้ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และการกำจัดขยะในครัวเรือน โดยการลด คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทางอย่างน้อย ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และผู้นำศาสนาใช้คำสอนตามหลักการเรื่องความสะอาด ผลบุญจากการรักษาความสะอาด และให้กับแกนนำครอบครัวของครัวเรือน ในพื้นที่เทศบาลตำบลตอหลัง โดยแบ่งเป็น 3 หมู่บ้าน จำนวน 381 ครัวเรือน และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1) จำนวนครัวเรือนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91
2) ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
98
0
5. กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง
วันที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ ทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยทีมแกนนำสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ให้ความรู้ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และการกำจัดขยะในครัวเรือน โดยการลด คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทางอย่างน้อย ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และผู้นำศาสนาใช้คำสอนตามหลักการเรื่องความสะอาด ผลบุญจากการรักษาความสะอาด และให้กับแกนนำครอบครัวของครัวเรือน ในพื้นที่เทศบาลตำบลตอหลัง โดยแบ่งเป็น 3 หมู่บ้าน จำนวน 381 ครัวเรือน และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1) จำนวนครัวเรือนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91
2) ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
154
0
6. เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
วันที่ 8 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง
ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
0
0
7. สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง
วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการดำเนินงาน สรุปปริมาณของขยะ โดยเฉพาะขยะอินทรีย์ในครัวเรือน ตั้งแต่เดือน มกราคม - มิถุนายน พ.ศ.2566 มีปริมาณลดลง 28 ตัน, 29 ตัน, 18 ตัน, 17 ตัน, 18 ตัน, และ18 ตัน ตามลำดับ ลดปริมาณขยะในชุมชน ลดลงร้อยละ 100, 103, 35.71, 39.28, 35.71 และ 35.71 ตามลำดับ โดยเฉลี่ยประมาณ ร้อยละ 35.71 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 50
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
1.29
1.00
1.10
ตั้งแต่ม.ค.-มิ.ย.66 ขยะมีปริมาณลดลง 28 ตัน, 29 ตัน, 18 ตัน, 17 ตัน, 18 ตัน, และ18 ตัน ตามลำดับ เฉลี่ยต่อวัน 1.10 กิโล/หลังคาเรือน
2
เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
44.00
80.00
100.00
ครัวเรือนทั้งหมด 545 หลังคาเรือน
3
เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
50.00
80.00
69.91
ครัวเรือนมีถังขยะเปียก 381 หลังคาเรือน ครัวเรือนทั้งหมด 545 หลังคาเรือน
4
เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
3.00
3.00
3.00
5
เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
3.00
3.00
3.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
381
381
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
381
381
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการฯ (2) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ (3) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการทิ้งขยะได้บุญ (4) เยี่ยมเยียนและติดตามผล (5) สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ (6) ประชุมชี้แจงโครงการฯ (7) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 1 ตำบลตอหลัง (8) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทและป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน (9) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง (10) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง (11) เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน (12) สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 รหัสสัญญา 01/2566 ระยะเวลาโครงการ 15 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
https://www.facebook.com/share/p/RpYxZovFNE3wnGiA/?mibextid=oFDknk
1.สร้างบ้านต้นแบบ ทราบถึงประโยชน์
2.ส่งเสริมการใช้อย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ในครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
https://www.facebook.com/story.php?story_fbid=115320874796958&id=100089571370645&mibextid=oFDknk&rdid=p9xy0fTHEm3PcUDJ
1.จัดตั้งธนาคารขยะเพื่อลดขยะที่มีมูลค่า ได้แก่ ขยะรีไซเคิล ขวดพลาสติก กระดาษ
2.แจ้งและประชาสัมพันธ์การทิ้งขยะอันตรายอย่างถูกวิธี
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
ประชาชนสามารถกำจัดขยะถูกวิธี ทิ้งขยะถูกวิธี คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ง่ายต่อการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องส่งไปกำจัด
https://www.facebook.com/share/p/RpYxZovFNE3wnGiA/?mibextid=oFDknk
1.ศึกษาดูงาน นวตกรรมใหม่ๆ เพื่อต่อยอด
2.ประกวดบ้านตัวอย่าง และประชาสัมพันธ์ในชุมชนทราบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน เพราะการย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ย
https://www.facebook.com/share/p/iUCNJhcyprvuPuB2/?mibextid=oFDknk
1.แนะนำการนำไปปลูกใกล้ต้นไม้และพืชผัก ผลไม้ เพื่อเป็นปุ๋ยหมักในเจริญงอกงาม
2.นำหนอนแมลงวันลายไปใช้เลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ เป็ด ฯลฯ เพราะเป็นหนอนที่มีโปรตีนสูง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูฮำหมัด หะยีสามะ ตำแหน่ง นักวิชการสาธารณสุขชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัด หะยีสามะ ตำแหน่ง นักวิชการสาธารณสุขชำนาญการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดนโยบายการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อบรรลุเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกและการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาล โดยขึ้นทะเบียนโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเทศไทย ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และให้แจ้งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ดำเนินการถังขยะเปียกในระดับครัวเรือนให้ครอบคุลมทุกครัวเรือน เทศบาลตำบลตอหลัง ได้ดำเนินการโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ในกลุ่มแกนนำชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน, แกนนำหมู่บ้าน, อสม., อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก และประชาชนในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง รวมทั้งหมด จำนวน 120 คน สามารถชี้แจงให้กลุ่มแกนนำชุมชนเข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง ลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปหลุมฝังกลบและลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน และนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน เพราะการย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ย ซึ่งเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ และสามารถใช้บริบทของชุมชนที่นับถือศาสนาอิสลาม ตามหลักคำสอนเรื่องความสะอาด ความว่า “แท้จริงอัลลอฮฺจะโปรดผู้ที่สำนึกตัวและชอบผู้ที่รักษาความสะอาด” [อัลบะเกาะเราะฮฺ :222] เพื่อสร้างความร่วมมือของประชาชนในการบริหารจัดการขยะ ทิ้งขยะถูกวิธีและลดปริมาณขยะในชุมชน และเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน สามารถชี้แจงประชาชนให้เข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และได้รับผลบุญจากการรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
- เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
- เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการฯ
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ
- ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการทิ้งขยะได้บุญ
- เยี่ยมเยียนและติดตามผล
- สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์
- ประชุมชี้แจงโครงการฯ
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 1 ตำบลตอหลัง
- จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทและป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง
- กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง
- เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน
- สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 381 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ใช้หลักการศาสนาอิสลามในการกระตุ้นให้ประชาชนสามารถกำจัดขยะถูกวิธี ทิ้งขยะถูกวิธี คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ง่ายต่อการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องส่งไปกำจัด
- เพื่อสร้างความร่วมมือของประชาชนให้เข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน สามารถชี้แจงประชาชนให้เข้าใจถึงประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปหลุมฝังกลบและลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน
- ผู้นำท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อาสาสมัครรักษ์โลก และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการลด คัดแยกขยะมูลฝอย โดยเฉพาะที่ต้นทาง ตามนโยบายการคัดแยกขยะที่ต้นทาง “ตอหลังตำบลสะอาดอย่างยั่งยืน” นำไปสู่ “ปัตตานีจังหวัดสะอาดอย่างยั่งยืน”
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงโครงการฯ |
||
วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายรับทราบโครงการ และดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 1 ตำบลตอหลัง |
||
วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ ทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยทีมแกนนำสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ให้ความรู้ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และการกำจัดขยะในครัวเรือน โดยการลด คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทางอย่างน้อย ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และผู้นำศาสนาใช้คำสอนตามหลักการเรื่องความสะอาด ผลบุญจากการรักษาความสะอาด และให้กับแกนนำครอบครัวของครัวเรือน ในพื้นที่เทศบาลตำบลตอหลัง โดยแบ่งเป็น 3 หมู่บ้าน จำนวน 381 ครัวเรือน และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1) จำนวนครัวเรือนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 2) ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
|
129 | 0 |
3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทและป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน |
||
วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์กิจกรรมการทิ้งขยะได้บุญ ทิ้งขยะถูกวิธีและลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะมูลฝอย อย่างน้อย ๔ ประเภท ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ประชาสัมพันธ์ทั้ง 3 หมู่บ้าน และที่สำนักงานเทศบาลตำบลตอหลัง จำนวน 4 จุด จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทในพื้นที่ตำบลตอหลัง และป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 %
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง |
||
วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ ทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยทีมแกนนำสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ให้ความรู้ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และการกำจัดขยะในครัวเรือน โดยการลด คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทางอย่างน้อย ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และผู้นำศาสนาใช้คำสอนตามหลักการเรื่องความสะอาด ผลบุญจากการรักษาความสะอาด และให้กับแกนนำครอบครัวของครัวเรือน ในพื้นที่เทศบาลตำบลตอหลัง โดยแบ่งเป็น 3 หมู่บ้าน จำนวน 381 ครัวเรือน และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1) จำนวนครัวเรือนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 2) ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
|
98 | 0 |
5. กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง |
||
วันที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ ทั้ง 3 หมู่บ้าน โดยทีมแกนนำสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน ให้ความรู้ประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน และการกำจัดขยะในครัวเรือน โดยการลด คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทางอย่างน้อย ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะทั่วไป และผู้นำศาสนาใช้คำสอนตามหลักการเรื่องความสะอาด ผลบุญจากการรักษาความสะอาด และให้กับแกนนำครอบครัวของครัวเรือน ในพื้นที่เทศบาลตำบลตอหลัง โดยแบ่งเป็น 3 หมู่บ้าน จำนวน 381 ครัวเรือน และรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1) จำนวนครัวเรือนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 2) ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
|
154 | 0 |
6. เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ประชาชนทราบถึงประโยชน์และมีความรู้ในการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ทุกครัวเรือน ไม่น้อยกว่า 90 % จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 545 หลัง ผลการดำเนินงาน จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 381 คน คิดเป็นร้อยละ 69.91 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 90
|
0 | 0 |
7. สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง |
||
วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการดำเนินงาน สรุปปริมาณของขยะ โดยเฉพาะขยะอินทรีย์ในครัวเรือน ตั้งแต่เดือน มกราคม - มิถุนายน พ.ศ.2566 มีปริมาณลดลง 28 ตัน, 29 ตัน, 18 ตัน, 17 ตัน, 18 ตัน, และ18 ตัน ตามลำดับ ลดปริมาณขยะในชุมชน ลดลงร้อยละ 100, 103, 35.71, 39.28, 35.71 และ 35.71 ตามลำดับ โดยเฉลี่ยประมาณ ร้อยละ 35.71 ซึ่งยังไม่ถึงเกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 50
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน |
1.29 | 1.00 | 1.10 | ตั้งแต่ม.ค.-มิ.ย.66 ขยะมีปริมาณลดลง 28 ตัน, 29 ตัน, 18 ตัน, 17 ตัน, 18 ตัน, และ18 ตัน ตามลำดับ เฉลี่ยต่อวัน 1.10 กิโล/หลังคาเรือน |
2 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ |
44.00 | 80.00 | 100.00 | ครัวเรือนทั้งหมด 545 หลังคาเรือน |
3 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ |
50.00 | 80.00 | 69.91 | ครัวเรือนมีถังขยะเปียก 381 หลังคาเรือน ครัวเรือนทั้งหมด 545 หลังคาเรือน |
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน |
3.00 | 3.00 | 3.00 |
|
5 | เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ |
3.00 | 3.00 | 3.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 381 | 381 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 381 | 381 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการฯ (2) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ (3) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการทิ้งขยะได้บุญ (4) เยี่ยมเยียนและติดตามผล (5) สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ (6) ประชุมชี้แจงโครงการฯ (7) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 1 ตำบลตอหลัง (8) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 เรื่อง ได้แก่ ป้ายแสดงการกำจัดขยะทั้ง 4 ประเภทและป้ายประโยชน์ของถังขยะเปียก ลดโลกร้อน (9) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 2 ตำบลตอหลัง (10) กิจกรรมอบรมการทิ้งขยะได้บุญ หมู่ที่ 3 ตำบลตอหลัง (11) เยี่ยมเยียนและติดตามผลการใช้การทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน (12) สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค์ และรายงานผลการกำจัดขยะในเขตเทศบาลตำบลตอหลัง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 รหัสสัญญา 01/2566 ระยะเวลาโครงการ 15 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
https://www.facebook.com/share/p/RpYxZovFNE3wnGiA/?mibextid=oFDknk
1.สร้างบ้านต้นแบบ ทราบถึงประโยชน์
2.ส่งเสริมการใช้อย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ในครัวเรือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
https://www.facebook.com/story.php?story_fbid=115320874796958&id=100089571370645&mibextid=oFDknk&rdid=p9xy0fTHEm3PcUDJ
1.จัดตั้งธนาคารขยะเพื่อลดขยะที่มีมูลค่า ได้แก่ ขยะรีไซเคิล ขวดพลาสติก กระดาษ
2.แจ้งและประชาสัมพันธ์การทิ้งขยะอันตรายอย่างถูกวิธี
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
ประชาชนสามารถกำจัดขยะถูกวิธี ทิ้งขยะถูกวิธี คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ง่ายต่อการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องส่งไปกำจัด
https://www.facebook.com/share/p/RpYxZovFNE3wnGiA/?mibextid=oFDknk
1.ศึกษาดูงาน นวตกรรมใหม่ๆ เพื่อต่อยอด
2.ประกวดบ้านตัวอย่าง และประชาสัมพันธ์ในชุมชนทราบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน เพราะการย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ย
https://www.facebook.com/share/p/iUCNJhcyprvuPuB2/?mibextid=oFDknk
1.แนะนำการนำไปปลูกใกล้ต้นไม้และพืชผัก ผลไม้ เพื่อเป็นปุ๋ยหมักในเจริญงอกงาม
2.นำหนอนแมลงวันลายไปใช้เลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ เป็ด ฯลฯ เพราะเป็นหนอนที่มีโปรตีนสูง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01 รหัสสัญญา 01/2566 ระยะเวลาโครงการ 15 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร |
https://www.facebook.com/share/p/RpYxZovFNE3wnGiA/?mibextid=oFDknk |
1.สร้างบ้านต้นแบบ ทราบถึงประโยชน์ 2.ส่งเสริมการใช้อย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ในครัวเรือน |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ | โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง การย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ยที่นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร |
https://www.facebook.com/story.php?story_fbid=115320874796958&id=100089571370645&mibextid=oFDknk&rdid=p9xy0fTHEm3PcUDJ |
1.จัดตั้งธนาคารขยะเพื่อลดขยะที่มีมูลค่า ได้แก่ ขยะรีไซเคิล ขวดพลาสติก กระดาษ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) | ประชาชนสามารถกำจัดขยะถูกวิธี ทิ้งขยะถูกวิธี คัดแยกขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ง่ายต่อการนำขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ต้องส่งไปกำจัด |
https://www.facebook.com/share/p/RpYxZovFNE3wnGiA/?mibextid=oFDknk |
1.ศึกษาดูงาน นวตกรรมใหม่ๆ เพื่อต่อยอด 2.ประกวดบ้านตัวอย่าง และประชาสัมพันธ์ในชุมชนทราบ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง | นำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวบ้าน เพราะการย่อยสลายของขยะอินทรีย์ในถังขยะเปียกให้กลายเป็นปุ๋ย |
https://www.facebook.com/share/p/iUCNJhcyprvuPuB2/?mibextid=oFDknk |
1.แนะนำการนำไปปลูกใกล้ต้นไม้และพืชผัก ผลไม้ เพื่อเป็นปุ๋ยหมักในเจริญงอกงาม 2.นำหนอนแมลงวันลายไปใช้เลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ เป็ด ฯลฯ เพราะเป็นหนอนที่มีโปรตีนสูง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการทิ้งขยะได้บุญเทศบาลตำบลตอหลัง ประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3038-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูฮำหมัด หะยีสามะ ตำแหน่ง นักวิชการสาธารณสุขชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......