กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิเด๊าะ อิแตแล

ชื่อโครงการ โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4147-02-08 เลขที่ข้อตกลง 66-L4147-02-04

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4147-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 2018 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ด้านสุขภาพหน่วยบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ตลอดจนในพื้นที่อำเภอยะหา พบว่ามีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ใน 5 ปี ย้อนหลัง พบสูงขึ้น และบางส่วนได้รับการประเมินผลไม่ทัน และสภาวะเหตุการณ์ด้านสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในด้านการจัดการส่งเสริมป้องกันอย่างทันท่วงที การดูแลส่งต่อรักษา การประเมินการเปลี่ยนแปลงของโรคเรื้อรัง ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสนใจ เพื่อใช้ลดความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานโดยมุ่งไปที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยง เนื่องจากมีผลการศึกษาพบว่า การควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคได้ องค์การอนามัยโลกได้เสนอแนวทางป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้ได้ผลโดยการแก้ไขปัญหาด้านปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายปัจจัยเสี่ยงไปพร้อมๆกัน และเน้นหนักในการป้องกันระดับปฐมภูมิ อีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายในการรักษาในระยะยาว จากผลงานการตรวจคัดกรองสุขภาพของตำบลบาโงยซิแนระหว่าง 01/10/2564ถึง 30/09/2565 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน (ไม่รวมกลุ่มป่วย) ร้อยละ 92.11ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (ไม่รวมกลุ่มป่วย) ร้อยละ 90.09 พบกลุ่มปกติที่มีภาวะน้ำตาลจากสถานการณ์ด้านสุขภาพหน่วยบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ตลอดจนในพื้นที่อำเภอยะหา พบ มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ใน 5 ปี ย้อนหลัง พบสูงขึ้น และบางสวนได้รับการประเมินผลไม่ทัน และสภาวะเหตุการณ์ด้านสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในด้านการจัดการส่งเสริมป้องกันอย่างทันทวงที การดูแลส่งต่อรักษา ที่การประเมินการเปลี่ยนแปลงของโรคเรื้อรัง ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสนใจ เพื่อใช้ลดความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานโดยมุ่งไปที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงเนื่องจากมีผลการศึกษาพบว่าการควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคได้องค์การอนามัยโลกได้เสนอแนวทางป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้ได้ผลโดยการแก้ไขปัญหาด้านปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายปัจจัยเสี่ยงไปพร้อมๆกัน และเน้นหนักในการป้องกันระดับปฐมภูมิ อีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายในการรักษาในระยะยาว การดำเนินการทำ Home BP 32 ราย การดำเนินการทำ SMBG 44 ราย ได้รับการปรับเปลี่ยน ภาวะสุขภาพ และส่งต่อการรักษากับหน่วยบริการในพื้นที่ ดังนั้น การได้รู้ข้อมูลสุขภาพของตนเอง จึงสามารถที่จะทำให้ประชาชนตระหนัก ในการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งจะให้ได้ผล และเกิดความยั่งยืนได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยพลังของประชาชนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพในชุมชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดการเร็ว คัดกรองทัน ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2564 โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566 (กิจกรรมดังกล่าวดำเนินการได้ดีและต่อเนื่อง)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อชี้แจงประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อความรู้ไวนิล (ชนิดขาตั้ง)
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. จัดบริการทีมสุขภาพออกตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร่วมกับติดตาม SMBP และ SMBG

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนที่อายุ 35 ปี ขึ้นไป 2,018

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพเฝ้าระวังโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ หากพบกลุ่มเสี่ยงจะได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อคงสภาวะของสุขภาพที่ดี และในกลุ่มที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้คงสภาวะของสุขภาพที่ดีจะได้รับการส่งต่อรักษาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลชุมชน และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. ประชาชนกลุ่มป่วยโรคเบาหวานสามารถ ทราบผลการคัดกรองภาวะสุขภาพและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
  3. ประชาชนกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถ ทราบผลการคัดกรองภาวะสุขภาพและควบคุมความดันโลหิตได้ดี
  4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีพฤติกรรมพึงประสงค์ต่อสุขภาพที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
35.76 29.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
30.21 25.00

 

3 โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการประเมินติดตาม SMBP และ SMBG มากขึ้น
72.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2018
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนที่อายุ 35 ปี ขึ้นไป 2,018

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อชี้แจงประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อความรู้ไวนิล (ชนิดขาตั้ง) (2) อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) จัดบริการทีมสุขภาพออกตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร่วมกับติดตาม SMBP และ SMBG

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4147-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิเด๊าะ อิแตแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด