กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการดูแลลูกให้ปลอดภัยด้วยวัคซีน 2566 ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายชัชวาลย์ เจริญนุมัติ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลลูกให้ปลอดภัยด้วยวัคซีน 2566

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2983-02-009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 เมษายน 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลลูกให้ปลอดภัยด้วยวัคซีน 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลลูกให้ปลอดภัยด้วยวัคซีน 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลลูกให้ปลอดภัยด้วยวัคซีน 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L2983-02-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 เมษายน 2566 - 15 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ บิดา มารดาและครอบครัวยิ่งต้องเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการเลี้ยงดูเด็ก หากยังขาดความรู้ความเข้าใจ ปล่อยปละละเลยไม่เห็นความสำคัญของการฉีดวัคซีน และการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบนัดวัคซีน ก็จะส่งผลต่ออนาคตเด็ก การประกอบอาชีพของผู้ปกครอง เพราะต้องเสียเวลาในการดำเนินการดังกล่าว กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90 จากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเขตตำบลปากล่อ ยังมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์มากในปี 2565 แม้จะมีการปรับกระบวนการเข้าถึงผู้ดูแล แต่ก็ต้องมีการปรับตามสถานการณ์และบริบทของพื้นที่ ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องต้องร่วมกับเจ้าหน้าที่สาสุขฯจักต้องให้ความรู้ คำแนะนำ แก่บิดา มารดาและครอบครัว ให้เห็นถึงความสำคัญของการแจ้งเกิด ขั้นตอนการเข้าระบบนัดวัคซีนกับคุณแม่มือใหม่ การได้รับวัคซีนตามวัย มีความรู้ในการรับวัคซีนตัวใหม่ที่จะมีขึ้น (covid-19) จากเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้น อสม.แกนนำวัคซีนตำบลปากล่อ ได้เล็งเห็นปัญหา จึงมีความจำเป็นยิ่งที่ต้องให้ความรู้ปรับทัศนะคติความเข้าใจฟื้นฟูความรู้ของผู้ปกครองเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่เพื่อให้นำบุตรหลานมา เพื่อให้ได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ เพื่อลดอัตราการไม่ได้แจ้งเกิด การป่วยเป็นโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้ปกครองและผุ้ดูแลเด็กมีความรู้หลังจากการอบรม 2. แกนนำติดตามเรื่องวัคซีนและหญิงตั้งครรภ์เข้าใจระบบการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบนัดวัคซีนรายใหม่ 3. ติดตามวัคซีน กรณีเด็กขาดวัคซีน (สองครั้ง/เดือน)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็ก ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์อายุ
    2. อัตราป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง
    3. ชุมชนมีความตระหนักในการแจ้งเกิดตามเกณฑ์และทราบถึงบทบาทในการทำงานด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.ผู้ปกครองและผุ้ดูแลเด็กมีความรู้หลังจากการอบรม 2. แกนนำติดตามเรื่องวัคซีนและหญิงตั้งครรภ์เข้าใจระบบการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบนัดวัคซีนรายใหม่ 3. ติดตามวัคซีน กรณีเด็กขาดวัคซีน (สองครั้ง/เดือน)
    ตัวชี้วัด : -สังเกตจากการตอบซักถาม ของผู้ปกครอง (เป้าหมายร้อยละ๘๐) -สังเกตจากยอดเด็กหลังได้รับวัคซีนไม่มีการป่วยมากเกิน ๒ วัน จากยอดผู้มารับบริการในแต่ละเดือนของเดือน -สังเกตจากการซักถาม ของผู้เข้าร่วมอบรม (เป้าหมายจากการซักถาม ร้อยละ๘๐/ยอดผู้เข้าอบรม -วัดจากจำนวนเป้าหมายทั้งหมดที่ไม่มารับวัคซีน (เป้าหมาย ร้อยละ.../จำนวนเด็กที่ไม่มารับวัคซีน....คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้ปกครองและผุ้ดูแลเด็กมีความรู้หลังจากการอบรม  2. แกนนำติดตามเรื่องวัคซีนและหญิงตั้งครรภ์เข้าใจระบบการแจ้งเกิดก่อนเข้าสู่ระบบนัดวัคซีนรายใหม่  3. ติดตามวัคซีน  กรณีเด็กขาดวัคซีน (สองครั้ง/เดือน)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลลูกให้ปลอดภัยด้วยวัคซีน 2566 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L2983-02-009

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายชัชวาลย์ เจริญนุมัติ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด