กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มชมรม อสม. หมู่ที่ 1

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 101,140.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกได้แพร่ระบาดเกือบทุกจังหวัดในประเทศไทย และในทุกปีของจังหวัดสตูลพบผู้ป่วยกระจายทั่วถึงทุกอำเภอ ในปีงบประมาณ 2560 ที่ผ่านมา พื้นที่ตำบลท่าเรือ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกหรือผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคไข้เลือดออก จำนวน 15 ราย ลดลงจากปีงบประมาณ 2559 จำนวน 112 ราย และในปีงบประมาณ 2561 คาดว่าผู้ป่วยไข้เลือดออกหรือผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคไข้เลือดออกจะมีแนวโน้มการระบาดด้วยโรคดังกล่าวในปีงบประมาณ 2561 น่าจะมีการระบาดเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2560 ที่ผ่านมาทีมป้องกันและควบคุมโรคตำบลท่าเรือ ได้ร่วมกันดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ อย่างเข้มแข็งแล้วก็ตาม ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องรีบเร่งปลุกจิตสำนึกให้กับประชาชนหรือครัวเรือนในพื้นที่ รวมถึงกลุ่มหรือองค์กรต่างๆ ได้แก่ สถานีอนามัย องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก มัสยิด และสำนักสงฆ์ ให้เกิดความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มากขึ้น เพื่อที่จะลดอัตราการป่วยและตายจากโรคดังกล่าวได้ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครธารณสุขหมู่ที่ 1 ตำบลท่าเรือ จึงเล็งเห็นถึงอันตรายของการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เพื่อให้การป้องกันและควบคุมโรคมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบ ประมาณ 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก และในชุมชน
  2. ๒. เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชนทั่วไป
  4. ๔. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก และชุมชน ได้รับการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ๒. การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ ๓. ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
    ๔. ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1. ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควันในโรงเรียน จำนวน 3 โรงเรียนๆ ละ 2 ครั้ง/ปี (ช่วงปิดเทอมและเดือนแรกของการเปิดเทอม) ครั้งละ 500 บาท เป็นเงิน 3,000.-บาท 2. ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควันในศูนย์เด็กเล็ก จำนวน 3 แห่งๆ ละ 2 ครั้ง/ปี (ช่วงปิดเทอมและเดือนแรกของการเปิดเทอ

    วันที่ 1 ตุลาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จ้างเหมาพ่นหมอกควันโรงเรียน
    2. จ้างเหมาพ่นหมอกควันในศูนย์เด็กเล็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • โรงเรียนศูนย์เด็กเล็ก และชุมชน ได้รับการกำจัดและทำลายแหลงเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
    • การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

     

    60 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก และในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก และในชุมชน
    70.00

     

    2 ๒. เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
    0.00 70.00

     

    3 ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชนทั่วไป
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชนทั่วไป
    0.00 70.00

     

    4 ๔. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออก
    0.00 70.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก และในชุมชน (2) ๒. เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชนทั่วไป (4) ๔. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มชมรม อสม. หมู่ที่ 1 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด