กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา


“ โครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566 ”

ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนาอีมะห์ ลอฮะ

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2501-1-06 เลขที่ข้อตกลง 15/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะบือซา อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2501-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,285.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะบือซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากภาวะโภชนาการเป็นปัจจัยสำคัญในด้านพัฒนาการเด็กไทยให้เติบโตเต็มศักยภาพ มีสุขภาพดีและเชาว์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จากการทบทวนงานวิจัย พบว่า เด็กปฐมวัยทั่วโลก 200 ล้านคนไม่สามารถพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์ได้เต็มศักยภาพด้วยสาเหตุหลักที่ป้องกันได้ 4 ประการ ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการรุนแรงที่ก่อให้เกิดภาวะเตี้ย แคระแกร็น(ส่วนสูงตามอายุต่ำกว่า-3SD) ภาวะขาดธาตุไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก และขาดการเลี้ยงดุกระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม จากการติดตามระยะยาวเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการรุนแรงจนเตี้ยแคระแกร็น(ส่วนสูงตามอายุต่ำกว่่า-3SD)ในช่วง 2 ขวบปีแรกจะมีคะแนนสติปัญญาในวัยเด็กอายุ 8-10 ปี ต่ำกว่าเด็กที่ไม่มีภาวะเตี้ย แคระแกร็นในช่วง 2 ปีแรก 3-10 จุด และเด็กที่มี่ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กทารกและปฐมวัย อาจทำให้คะแนนสติปัญญาลดลงได้ 5-10 จุด     ผลการดำเนินงานการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กอายุ 6-12 เดือน ของรพ.สต.ลุโบะบือซา พบว่า ในปี 2565 มีเด็กอายุ 6-12 เดือน มารับบริการตรวจคัดกรอง 51 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.07(เป้าหมายร้อยละ 70) พบภาวะซีด 13 คน คิดเป็นร้อยละ 25.49 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 20) ซึ่งเป็นปัญหา ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะบือซา จึงได้จัดทำโครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการแก้ไขและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ เด็กที่มีภาวะโลหิตจางได้รับ การแก้ไขปัญหาและมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น พัฒนาสมรรถนะทางสติปัญญาและประสิทธิภาพของเด็กไทย ตลอดจนสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหารและสัดส่วนที่เหมาะสมเพียงพอ เอื้อต่อการมีภาวะโภชนาการที่ดี 2.เพื่อให้เด็ก 6-12 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อให้เด็กอายุ 6-12 เดือนที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการรักษาและมีค่า Hct>33% หรือ Hb>11 mg/dl เพิ่มขึ้นจนเป็นปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 66
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ัปกครองหรือผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเด็ก 2.เด็กอายุ 6-12 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองโลหิตจางและรับยาเสริมธาตุเหล็ก 3.เด็กอายุ 6-12 เดือน ที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการรักษาและมีค่า Hct>33% หรือ Hb>11 mg/dl เพิ่มขึ้นจนเป็นปกติ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหารและสัดส่วนที่เหมาะสมเพียงพอ เอื้อต่อการมีภาวะโภชนาการที่ดี 2.เพื่อให้เด็ก 6-12 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง 3. เพื่อให้เด็กอายุ 6-12 เดือนที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการรักษาและมีค่า Hct>33% หรือ Hb>11 mg/dl เพิ่มขึ้นจนเป็นปกติ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 66
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหารและสัดส่วนที่เหมาะสมเพียงพอ เอื้อต่อการมีภาวะโภชนาการที่ดี                  2.เพื่อให้เด็ก 6-12 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง                3. เพื่อให้เด็กอายุ 6-12 เดือนที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการรักษาและมีค่า Hct>33% หรือ Hb>11 mg/dl เพิ่มขึ้นจนเป็นปกติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโภชนาการดี ไม่มีภาวะโลหิตจางในเด็ก 0-5 ปี ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2501-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนาอีมะห์ ลอฮะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด