กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการส่งเสริมความรู้ และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้ยาสมเหตุสมผล ”

ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮานาน มะยีแต

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้ยาสมเหตุสมผล

ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3017-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้ และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้ยาสมเหตุสมผล จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้ยาสมเหตุสมผล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้ยาสมเหตุสมผล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3017-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,665.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บโดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการคุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อนการบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุด ได้จัดตั้งทีมงานอาสามสมัครวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน เพื่อการเฝ้าระวังติดตามความปลอดภัย และการคุ้มครองผู้บริโภคของประชาชนตำบลปูยุด เพื่อการขับเคลื่อนงาน และการเฝ้าระวัง อันตรายจากการบริโภคของชุมชน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค อาหารปลอดภัย ปี 66 ขึ้นมาเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหาร และการใช้ยาที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่มีและเพิ่มใหม่ให้ผ่านเกณฑ์ CFGT และท้องถิ่น
  2. เพื่อตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดที่จำหน่ายในแผงลอยจำหน่ายอาหารสดในพื้นที่ให้ผ่านการตรวจ และให้ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย (Food Safety)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการเลิกใช้ยา และการบริโภคสินค้าที่
    2. ชุมชนลดความเสี่ยงจากสินค้าที่อันตราย
    3. เกิดร้านค้าที่มีคามเข้าใจและตระหนักต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่มีและเพิ่มใหม่ให้ผ่านเกณฑ์ CFGT และท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด : ร้านค้ามีความรู้ในการจัดการร้านค้า และแผงลอยเพื่อการจัดจำหน่ายสินค้าที่ปลอดภัย ร้อยละ ๘๐

     

    2 เพื่อตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดที่จำหน่ายในแผงลอยจำหน่ายอาหารสดในพื้นที่ให้ผ่านการตรวจ และให้ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย (Food Safety)
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ด้านการเลือกซื้อสินค้า และยา ร้อยละ ๘๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่มีและเพิ่มใหม่ให้ผ่านเกณฑ์ CFGT และท้องถิ่น (2) เพื่อตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดที่จำหน่ายในแผงลอยจำหน่ายอาหารสดในพื้นที่ให้ผ่านการตรวจ และให้ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย (Food Safety)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความรู้ และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค และการใช้ยาสมเหตุสมผล จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L3017-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฮานาน มะยีแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด