กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน ”

ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮานาน มะยีแต

ชื่อโครงการ โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน

ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3017-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3017-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุรุนแรงขึ้นทุกปี พบได้เด็กไทย มีอัตราเด็กปราศจากฟันผุ น้อยมาก และพบปัญหาสุขภาพฟันในทุกกลุ่มวัย เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กยังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี นอกจากนี้ปัญหา“ ทันตสุขภาพ” ในกลุ่มวัยอื่นๆยังส่งผลถึงปัญหาที่ตามมามากมาย อาทิเช่น ปัญหาโรคเหงือก ปัญหาการเสียวฟัน ปัญหาสุขภาพกาย ตลอดจน การนำพาไปสู่ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะขาดสารอาหารในผู้ใหญ่ และหญิงตั้งครรภ์ ทั้งหมดเป็นผลกระทบ และส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วย การดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง และประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังได้สถานการณ์ด้านสุขภาพช่องปาก ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด ในช่วง ๕ ปีที่ ผ่านมา พบว่าเด็กเป็นโรคฟันผุ ถึงร้อยละ ๘๙.๒ ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายของประเทศที่กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 50 และมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษา ตั้งแต่เริ่มแรก ในขณะเดียวกัน ยังพบปัญหา ในกลุ่มวัยเจริญพันธ์ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และวัยสูงอายุส่งผลให้เกิดโรคกรดไหลย้อน โรคระบบทางเดินอาหาร และภาวะซีดจากการขาดสารอาหาร ซึ่งเป็นผลจากจากปัญหาสุขภาช่องปาก ดังนั้นสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ ๓ กลุ่มวัยรักษ์ ฟ.ฟัน ขึ้นเพื่อให้ ประชาชน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจน มีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพทั้งยังเป็นการ ลดและป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาตามมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับสุขภาพฟันใน๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ)
  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะฟันผุ๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ)
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการดูแลฟันอย่างถูกวิธี
  4. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย และผลกระทบจากปัญหาสุขภาพในช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องสุขภาพช่องปาก ( กลุ่มเป้าหมายวัยเด็กและวัยหญิงตั้งครรภ์, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ) จำนวน ๕0 คน (๒รุ่นๆละ ๕๐ คน)
  2. กิจกรรมคัดกรอง เฝ้าระวังรณรงค์ สุขภาพฟัน ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ด้านสุขภาพในช่องปากมากขึ้น สามารถนำความรู้ไปปรับใชในชีวิตประจำวัน
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรอง และดูแลสุขภาพช่องปากมากขึ้น ประชาชนเกิดความตระหนักเรื่องสุขภาพช่องปาก
  3. ลดอัตราการเกิดโรค และเสริมสร้างสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับสุขภาพฟันใน๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ)
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วม มีความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๘๐

 

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะฟันผุ๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ)
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลฟันที่ถูกต้อง ผ่านการทดสอบการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ ๗๐

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการดูแลฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรค และปัญหาสุขภาพช่องปากมีแนวโน้มลดลง

 

4 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย และผลกระทบจากปัญหาสุขภาพในช่องปาก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับสุขภาพฟันใน๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ) (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะฟันผุ๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ) (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการดูแลฟันอย่างถูกวิธี (4) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย และผลกระทบจากปัญหาสุขภาพในช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องสุขภาพช่องปาก          ( กลุ่มเป้าหมายวัยเด็กและวัยหญิงตั้งครรภ์, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ) จำนวน ๕0 คน (๒รุ่นๆละ ๕๐ คน) (2) กิจกรรมคัดกรอง เฝ้าระวังรณรงค์ สุขภาพฟัน ในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3017-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮานาน มะยีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด