กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด


“ โครงการบูรณาการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก อบต.โละจูด ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก อบต.โละจูด ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก อบต.โละจูด ปี ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก อบต.โละจูด ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก อบต.โละจูด ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-50114-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การติดเชื้อเอชไอวีของประเทศไทย ในกลุ่มประชากรหลัก ได้แก่ ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง พนักงานบริการ พนักงานขายบริการหญิง และผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด ร้อยละ 90 ของการติดเชื้อ เอชไอวีรายใหม่เป็นการรับและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีผ่านการใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดยาหรือสารเสพติดร่วมกัน โครงการนี้จัดขึ้นตามกรอบแผนปฏิบัติการเร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ.2558-2562 ซึ่งนอกเหนือจากการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และจากการฉีดยาหรือสารเสพติด เป็นการใช้ประโยชน์ของการรักษาเพื่อการป้องกัน(Treatment as Prevention)โดยส่งเสริมการตรวจเอชไอวีในกลุ่มประชากรหลักเพื่อให้รู้สถานการณ์ติดเชื้อเอชไอวี แต่เนิ่นๆเริ่มให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทันที โดยไม่ต้องรอให้ระดับภูมิต้านทาน (CD4) ต่ำลงและดูแลให้กินยาต่อเนื่อง การให้ความรู้ในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด โดยกลวิธี Harm Reduction เพื่อป้องกันถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี กรอบการให้บริการ ประกอบด้วย การเข้าถึงการป้องกัน-การเข้าสู่บริการ-การตรวจเอชไอวี-การรักษา-การคงอยู่ในระบบ (Reach-Recruit-Test-Retain:RRTTR)ที่เชื่อมต่อกัน โดยเป็นการทำงานร่วมกันของงานป้องกันและการรักษาแต่ด้วยทัศนะเชิงลบของสังคมและผู้เกี่ยวข้องในเรื่องเอดส์ และต่อกลุ่มประชากรหลัก จึงจำเป็นต้องมีการดำเนินการสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงานควบคู่กันไป จากข้อมูลการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ในพื้นที่ตำบลโละจูด ปี2558-2560 พบว่า ผู้ติดเชื้อรายใหม่เข้าถึงการรับบริการ จำนวน 23,20,3 ราย ตามลำดับ และร้อยละ 70 มาจากการใช้สารเสพติดชนิดฉีด และติดต่อทางคู่ที่อยู่อาศัยด้วยกัน การเข้าถึงการรับบริการยาต้านไวรัสเอชไอวีในกลุ่มใช้สารเสพติดชนิดฉีด ตำบลโละจูด จำนวน 155คน พบว่า ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.67 และมีเชื้อไวรัสตับอักเสบร่วม คิดเป็นร้อยละ 3.22 (35 ราย)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็็นการป้องกัน การแพร่เชื้อเอชไอวีรายใหม่
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและป้องกันตนเองไม่ให้มีความเสี่ยงในการตดเชื้อเอชไอวี
  3. เพื่อพัฒนาระบบการเข้าถึงการบริการภาครัฐ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเวทีประชาชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การคืนข้อมูล แก่ชุมชน
  2. จัดกิจกรรมรณรงค์ การยุติปัญาหาโรคเอดส์
  3. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายหลัก/กลุ่มเสี่ยง
  4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก
  5. กิจกรรมประชุมกลุ่มเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การส่งเสริมการดูแลตนเอง การมารับยาตามนัดและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจัดระบบการติดตาม เยี่ยมบ้านโดยเครือข่าย/กลุ่มจิตอาสาจัดระบบกระตุ้นให้ผู้ที่มีผลเลือด พร้อมคู่อย่างน้อยทุก 6 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เครือข่ายการป้องกัน ดูแลสุขภาพร่วมกันระหว่าง อบต.โละจูดและโรงพยาบาล และชุมชนในพื้นที่ เพื่อทำให้เข้าถึงกลุ่มประชากรหลักได้ครอบคลุมมากขึ้น เข้าสู่ระบบบริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตรวจเอชไอวี การรักษาด้วยเมทาโดนในผู้ใช้สารเสพติด มากขึ้นตรวจพบ ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีและรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีทันที่มากขึ้น ส่งผลให้ลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก

วันที่ 20 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก

 

0 0

2. จัดกิจกรรมรณรงค์ การยุติปัญาหาโรคเอดส์

วันที่ 3 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมรณรงค์ การยุติปัญาหาโรคเอดส์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมรณรงค์ การยุติปัญาหาโรคเอดส์

 

0 0

3. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายหลัก/กลุ่มเสี่ยง

วันที่ 19 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายหลัก/กลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายหลัก/กลุ่มเสี่ยง

 

0 0

4. กิจกรรมเวทีประชาชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การคืนข้อมูล แก่ชุมชน

วันที่ 13 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเวทีประชาคมและเปลี่ยนความรู้/คืนข้อมูลชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมเวทีประชาคมและเปลี่ยนความรู้/คืนข้อมูลชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็็นการป้องกัน การแพร่เชื้อเอชไอวีรายใหม่
ตัวชี้วัด : อัตราการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ในพื้นที่ลดลงร้อยละ 80
1.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและป้องกันตนเองไม่ให้มีความเสี่ยงในการตดเชื้อเอชไอวี
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีได้ ร้อยละ 80
1.00

 

3 เพื่อพัฒนาระบบการเข้าถึงการบริการภาครัฐ
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความเข้าถึงการรับบริการยาต้าน เมทธาโดน เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 2. อัตราการดื้อยาต้านไวรัสลดลง ร้อยละ 20
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็็นการป้องกัน การแพร่เชื้อเอชไอวีรายใหม่ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและป้องกันตนเองไม่ให้มีความเสี่ยงในการตดเชื้อเอชไอวี (3) เพื่อพัฒนาระบบการเข้าถึงการบริการภาครัฐ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเวทีประชาชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้/การคืนข้อมูล แก่ชุมชน (2) จัดกิจกรรมรณรงค์ การยุติปัญาหาโรคเอดส์ (3) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายหลัก/กลุ่มเสี่ยง (4) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก (5) กิจกรรมประชุมกลุ่มเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การส่งเสริมการดูแลตนเอง การมารับยาตามนัดและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจัดระบบการติดตาม เยี่ยมบ้านโดยเครือข่าย/กลุ่มจิตอาสาจัดระบบกระตุ้นให้ผู้ที่มีผลเลือด พร้อมคู่อย่างน้อยทุก 6 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประชากรหลัก อบต.โละจูด ปี ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด