กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 ”

ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมมัดตัรมีซี สาแม

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2541-1-08 เลขที่ข้อตกลง 8/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลริโก๋ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2541-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ริโก๋ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัวและประเทศชาติ สิ่งสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือ การให้ความรัก ความเข้าใจ และการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เด็กก่อนวัยเรียน เป็นวัยที่มีความสำคัญช่วงชีวิตหนึ่ง ของมนุษย์ เพราะเป็นวัยแห่งการพัฒนาความเป็นบุคคลในด้านต่างๆ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสมอง สุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน มีความสำคัญ เนื่องจากวัยนี้เป็นวัยแห่งการเรียนรู้ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนจึงมีความจำเป็นซึ่งปัจจุบัน เป็นที่น่าวิตกมาก เมื่อพบว่ามีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้า ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา เนื่องจากสภาพสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยที่พ่อแม่หรือผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ ที่สมวัย รวมทั้งการได้รับภูมิคุ้มกันด้านต่างๆ ล้วนเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย ๐ - ๕ ปี เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต ซึ่งเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงเป็นวัยที่สำคัญที่เหมาะสมสำหรับการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ ๒ ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูแลที่ดีและถูกต้อง กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเป้าหมายในเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 85 พัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ร้อยละ 90 และการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากในเด็ก 0-2 ปีร้อยละ 70 จากการดำเนินงานของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลริโก๋ ในปีงบประมาณ 2565 ที่ผ่านมาพบว่า เด็ก 0-5 ปี เมื่อดำเนินการชั่งน้ำหนักเด็กพบเด็กอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วนคิดเป็นร้อยละ 78.29 และมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าคิดเป็นร้อยละ 39.80 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 70.53 และการตรวจสุขภาพช่องปากในเด็ก 0-2 ปีร้อยละ 78.57 พบฟันผุคิดเป็นร้อยละ 32.26 ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลริโก๋ ได้เล็งเห็นความสำคัญและปัญหาของเด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพรอบด้านให้เด็กในพื้นที่มีสุขภาพดีครอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ พัฒนาการสมวัยสูงดีสมส่วน ปราศจากฟันผุ และได้รับภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตาภาวะโภชนาการ
  2. เพื่อให้เด็กในช่วงอายุ 9,18,30,42,60 เดือน มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการ
  3. เพื่อให้เด็กไทยอายุ 6-12 เดือนได้รับการเจาะเลือดตรวจ Hct
  4. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น
  5. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากโดยทันตบุคลากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เรื่องโภชนาการเด็ก พัฒนาการเด็ก สุขภาพช่องปาก และวัคซีนเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี
  2. เจาะเลือดตรวจคัดกรองภาวะซีด (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือนถึง 12 เดือนและจ่ายแรกเกิดถึง 5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการทุกราย
  3. 3. เยี่ยมบ้านเด็กที่ผิดนัดวัคซีนทุกราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตาภาวะโภชนาการ
  2. เด็กในช่วงอายุ 9,18,30,42,60 เดือน มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการ
  3. เด็กไทยอายุ 6-12 เดือนได้รับการเจาะเลือดตรวจ Hct
  4. เด็ก 0-5 ปีได้รับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น
  5. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากโดยทันตบุคลากร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เรื่องโภชนาการเด็ก พัฒนาการเด็ก สุขภาพช่องปาก และวัคซีนเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก หรือผู้ดูแลเด็กอายุแรกเกิด ถึง 5 ปี จำนวน 120 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้รับความรู้สามารถนำไปปฏิบัติได้

 

0 0

2. เจาะเลือดตรวจคัดกรองภาวะซีด (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือนถึง 12 เดือนและจ่ายแรกเกิดถึง 5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการทุกราย

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจาะเลือดตรวจคัดกรองภาวะซีด (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือนถึง 12 เดือนและจ่ายแรกเกิดถึง 5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการทุกราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมเฝ้าระวังและติตาม ภาวะโภชนการ จำนวน 353 คน คิดเป็นร้อยละ 93.88 พบว่า ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2.เด็กอายุ 6-12 เดือน มีจำนวนทั้งหมด 118 คน ได้รับการเจาะเลือดตรวจ Hct จำนวน 80 ตน คิดเป็นร้อยละ 67.80 พบว่า ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 3.เด็กอายุ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน จำนวนเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทั้งหมด 289 คน ได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการ จำนวน 272 คน คิดกเ)้นร้อยละ 91.28 พบว่า ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 4. เด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนทั้งหมด 386 คน ได้รับการตรวจช่องปากโดยทันตบุคลากร จำนวน 297 คน คิดเป็นร้อยละ 79 พบว่า ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

 

0 0

3. เยี่ยมบ้านเด็กที่ผิดนัดวัคซีนทุกราย

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เยี่ยมบ้านเด็กที่ผิดนัดวัคซีน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนทังหมด 223 คน ได้รับการครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น จำนวน 172 คน คิดเป็นร้อยล 78.03 พบว่าผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตาภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตาภาวะโภชนาการ
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กในช่วงอายุ 9,18,30,42,60 เดือน มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กในช่วงอายุ 9,18,30,42,60 เดือน มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการ
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กไทยอายุ 6-12 เดือนได้รับการเจาะเลือดตรวจ Hct
ตัวชี้วัด : เด็กไทยอายุ 6-12 เดือนได้รับการเจาะเลือดตรวจ Hct
0.00

 

4 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปีได้รับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น
0.00

 

5 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากโดยทันตบุคลากร
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากโดยทันตบุคลากร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตาภาวะโภชนาการ (2) เพื่อให้เด็กในช่วงอายุ 9,18,30,42,60 เดือน มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการ (3) เพื่อให้เด็กไทยอายุ 6-12 เดือนได้รับการเจาะเลือดตรวจ Hct (4) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้น (5) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากโดยทันตบุคลากร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เรื่องโภชนาการเด็ก พัฒนาการเด็ก สุขภาพช่องปาก และวัคซีนเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี (2) เจาะเลือดตรวจคัดกรองภาวะซีด (Hct) ในเด็กอายุ 6 เดือนถึง 12 เดือนและจ่ายแรกเกิดถึง 5 ปีได้รับการตรวจพัฒนาการทุกราย (3) 3. เยี่ยมบ้านเด็กที่ผิดนัดวัคซีนทุกราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2541-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมมัดตัรมีซี สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด