กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา

ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3339-02-01 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3339-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดีเป็นเป้าหมายสูงสุดของมวลมนุษยชาติ สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการมีสุขภาพที่ดีของมวลมนุษยชาติ คือ ความเจ็บป่วยหรือโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ กลไกการเกิดโรคของมนุษย์ต่างมีปัจจัยขั้นพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน คือ ชีวิตมนุษย์เอง เชื้อโรครวมทั้งพาหะนำโรคหรือสัตว์นำโรคต่างๆด้วย และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ซึ่งสิ่งแวดล้อมมีบทบาทมากที่สุดสำหรับโรคติดเชื้อ เนื่องจากเชื้อโรคและร่างกายมนุษย์ต่างต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมเพื่อการเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ทั้งสองฝ่าย นอกจากนี้สิ่งแวดล้อมยังมีบทบาทสำคัญที่ทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ด้วยโรคติดเชื้อเกิดจากเชื้อโรค และหรือสารที่สร้างจากเชื้อโรคนั้นๆความเจ็บป่วยที่สำคัญของประชาชนในปัจจุบันแบ่งออกเป็นป่วยด้วยโรคติดต่อและป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง ซึ่งโรคติดต่อที่สำคัญเป็นปัญหาในพื้นที่ หมู่ที่ 11ตำบลหารเทา ประกอบด้วยโรคอุจจาระร่วงโรคไข้เลือดออก โรคระบบทางเดินหายใจ โรคมือเท้าปาก เป็นต้น และเจ็บป่วยด้วยอุบัติเหตุอุบัติภัย เป็นต้น การเกิดโรคติดต่อมีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบด้วย บุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรคการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือ บุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ จะต้องควบคุมเชื้อโรคไม่ใช้มีการแพร่พันธุ์ที่มากพอจนถึงระดับที่จะก่อโรคได้สัตว์นำโรคหรือพาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยที่สุดและที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อม จะต้องได้รับการจัดการให้ถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสภาพแวดล้อมที่ที่เกี่ยวกับที่อยู่อาศัยจะต้องสะอาดถูกสุขลักษณะซึ่งจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคสัตว์นำโรคหรือพาหนะนำโรค การปรับปรุงควบคุมหรือ รักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนทุกคนในหมู่บ้านจะต้องปฏิบัติเป็นวิถีชีวิตประจำวันในการจัดการขยะชุมชนต้องกลับมาเริ่มต้นที่ระดับครัวเรือน ให้มีการจัดการขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะ โดยวิธีการลดปริมาณขยะคัดแยกขยะที่ต้นทางและนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลัก 3 Rsคือ ลดการใช้ ( Reduce ) การนำมาใช้ซ้ำ ( Reuse ) การใช้วัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ( Recycle ) รวมทั้งการนำขยะไปใช้ประโยชน์และการจัดการขยะที่ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อีกต่อไป ชมรม อสม. หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทาจึงได้จัดทำโครงการประชาชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค ขึ้น เนื่องจากได้เล็งเห็นว่าควรมีการพัฒนาครัวเรือนในทุกหมู่บ้าน ให้สะอาด ปราศจากโรคภัย ด้วยการสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาดูแลรักษาความสะอาด อาศัยความร่วมมือร่วมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เพื่อให้การดำเนินการขับเคลื่อนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยรณรงค์ปรับปรุงพัฒนารักษาความสะอาดบริเวณบ้านเรือน ชุมชน หมู่บ้านสถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะ และแหล่งน้ำสาธารณะ ให้สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมถึงการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้มีความสวยงาม เพื่อกรตุ้นและจูงใจให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและคงสภาพให้ต่อเนื่องยั่งยืน โดยการใช้กลวิธีสร้างจิตอาสาและพัฒนาเครือข่าย อันจะส่งผลให้ประชาชนมีมีอุบัติการและอัตราการเกิดโรคติดต่อลดลงอย่างเป็นรูปธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน
  2. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  4. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์/การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  2. การรณรงค์การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน (การทำน้ำหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)
  3. อบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์ ให้มีประโยชน์ในครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคอย่างถูกวิธี ให้กับแกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) รวมถึงประชาชนในพืนที่
  4. กิจกรรมตรวจประเมินบ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการสิ่งแวดล้อมได้ดีเยี่ยม
  5. กิจกรรม สรุป ประเมินผลการจัดกิจกรรม แลกเปลียนเรียนรู้ และกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา มีความรู้ และให้ความสำคัญในการจัดการขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทาง โดยการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคในระดับครัวเรือน
  2. ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) รวมถึงประชาชนที่เข้าร่วมอบรมในโครงการ สามารถขยายผลการจัดทำถังขยะเปียกไปสู่ประชาชนในพื้นที่
  3. จำนวนครัวเรือนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 11ตำบลหารเทามีพฤติกรรมคัดแยกขยะอินทรีย์อย่างถูกต้อง โดยมีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคในครัวเรือน ร้อยละ 85

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน
30.00 20.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
35.00 50.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
0.00 1.00

 

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
15.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์/การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (2) การรณรงค์การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน (การทำน้ำหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์) (3) อบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์ ให้มีประโยชน์ในครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคอย่างถูกวิธี ให้กับแกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) รวมถึงประชาชนในพืนที่ (4) กิจกรรมตรวจประเมินบ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและมอบรางวัลให้แก่บ้านที่จัดการสิ่งแวดล้อมได้ดีเยี่ยม (5) กิจกรรม สรุป ประเมินผลการจัดกิจกรรม แลกเปลียนเรียนรู้ และกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3339-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 ตำบลหารเทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด