โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 ”
เขต รพสต.กลูบี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสาลินี สาเมาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ
พฤษภาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ เขต รพสต.กลูบี จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ 66-L2542-01-17 เลขที่ข้อตกลง 2566/017
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขต รพสต.กลูบี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เขต รพสต.กลูบี รหัสโครงการ 66-L2542-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มนุษย์เรามีฟันด้วยกันทั้งหมด 2 ชุด ฟันชุดแรกเรียกว่าฟันน้ำนมมีอยู่ 20 ซี่ ซึ่งจะเริ่มเห็นในช่องปาก เมื่อเด็กเกิดแล้วประมาณ 6 เดือน และจะครบ 20 ซี่ เมื่อเด็กอายุประมาณสองขวบครึ่ง โดยอยู่ที่ขากรรไกรบน 10 ซี่ และขากรรไกรล่าง 10 ซี่ เด็กจะใช้ฟันน้ำนมเต็มที่ ประมาณ 3 ถึง 6 ขวบ จากนั้นฟันแท้จะทยอยกันขึ้นมา แทนที่ฟันน้ำนม โดยธรรมชาติ ฟันน้ำนมจะค่อย ๆ โยกและหลุดไปเอง ฟันแท้ซี่แรก จะเป็นฟันกรามใหญ่ ขึ้นเมื่ออายุประมาณ 6 ขวบ จนถึงอายุประมาณ 12 ปี เด็กควรมีฟันแท้อยู่ในปาก ประมาณ 28 ซี่ ส่วนอีก 4 ซี่ที่เหลือ เป็นฟันกรามซี่สุดท้าย จะขึ้นระหว่างอายุประมาณ 18-25 ปี การขึ้นของฟันซี่นี้ อาจเร็วหรือช้า ยากง่ายต่าง ๆ กัน เมื่อขึ้นมาครบในขากรรไกร ทั้งบนและล่าง ซ้ายและขวาแล้ว จะทำให้เรามีฟันครบ 32 ซี่
ทุกคนคงต้องยอมรับว่า "ปาก" เป็นอวัยวะที่มีความสำคัญต่อทุกชีวิต ในช่องปากมีอวัยวะที่สำคัญ คือ เหงือก ลิ้น กระพุ้งแก้ม เพดาน และลำคอส่วนต้น ฟัน จัดเป็นอวัยวะที่แข็งแรงที่สุดในร่างกาย โดยมีความแข็งแรงมากกว่ากระดูก เป็นอวัยวะเดียวที่ไม่มีการเติบโต เพิ่มขนาด หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หลังจากขึ้นมาในช่องปากแล้ว แต่ฟันยังเป็นอวัยวะที่มีชีวิต รับความรู้สึก และเจ็บปวดได้ ถ้ามีการสึกกร่อน หรือทำลายช่องเนื้อฟันลง ฟันมีความสำคัญต่อชีวิต ตั้งแต่เป็นฟันน้ำนม ที่เริ่มขึ้นในวัยเด็ก จวบจนเป็นฟันแท้ที่จะอยู่กับเราไปจนกระทั่งถึงวัยชรา ถ้าหากเราเอาใจใส่ดูแล รักษาความสะอาด ด้วยการแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟันอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน หลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นโทษกับฟัน เช่น ขนมหวานเหนียวติดฟัน น้ำอัดลม เป็นต้น และที่สำคัญคือ ต้องใช้ฟันให้ถูกหน้าที่ คือ ฟันมีหน้าที่บดเคี้ยวอาหาร ช่วยในการออกเสียง และช่วยสร้างรอยยิ้มที่ประทับใจ และควรหาเวลาไปพบทันตแพทย์ เพื่อการบูรณะ และป้องกันความผิดปกติปีละครั้ง เพียงเท่านี้ เราก็จะมีสุขภาพฟันที่ดี
ดังนั้นคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของสถานบริการสาธารณสุข เป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอเหมาะสมที่จะดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองคลินิกสุขภาพเด็กดีได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็น
ความสำคัญของการดูแลช่องปากของทุกวัย จึงเห็นควรจัดทำโครงการฟันสะอาด สุขภาพดี เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์บุตรของตนเอง และผู้ปกครองเด็กคลินิกสุขภาพเด็กดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรได้
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาช่องปากและฟัน
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ มีฟันผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- กลุ่มเป้าหมายเป็นหญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ซึ่งได้เข้าร่วมการอบรมโครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ จำนวน ๖๐ คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรได้
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ ตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาช่องปากและฟันของตนเองและบุตร
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลช่องปากตนเองและบุตรมีปัญหาฟันผุลดลง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์ (ตามโครงการ)
๑.เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
๒. เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลเด็กเกี่ยวกับการเช็ดทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็ก
๓. เพื่อลดอัตราโรคฟันผุและการเกิดโรคปริทันต์ในหญิงตั้งครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี
ตัวชี้วัด
๑. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
๒. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปีมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
๓. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
การประเมินผล (ตัวชี้วัด / เกณฑ์ตามโครงการ)
๑.ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๘๐
๒.ร้อยละ 80 เด็กอายุ 0-5 ปี ปราศจากฟันผุ
ผลการดำเนินงาน
- กลุ่มเป้าหมายเป็นหญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ซึ่งได้เข้าร่วมการอบรมโครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ จำนวน ๖๐ คน
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรได้
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ ตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาช่องปากและฟันของตนเองและบุตร
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลช่องปากตนเองและบุตรมีปัญหาฟันผุลดลง
ปัจจัยสนับสนุนต่อโครงการ
1. กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสากอ ให้การสนับสนุนในการดำเนินโครงการอย่างเต็มที่
2. แกนนำสุขภาพ และอาสามสมัครสาธารณสุข ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มาเข้าร่วมโครงการ
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
2. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปีมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
3. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ 66-L2542-01-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสาลินี สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 ”
เขต รพสต.กลูบี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสาลินี สาเมาะ
พฤษภาคม 2566
ที่อยู่ เขต รพสต.กลูบี จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ 66-L2542-01-17 เลขที่ข้อตกลง 2566/017
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขต รพสต.กลูบี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ เขต รพสต.กลูบี รหัสโครงการ 66-L2542-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มนุษย์เรามีฟันด้วยกันทั้งหมด 2 ชุด ฟันชุดแรกเรียกว่าฟันน้ำนมมีอยู่ 20 ซี่ ซึ่งจะเริ่มเห็นในช่องปาก เมื่อเด็กเกิดแล้วประมาณ 6 เดือน และจะครบ 20 ซี่ เมื่อเด็กอายุประมาณสองขวบครึ่ง โดยอยู่ที่ขากรรไกรบน 10 ซี่ และขากรรไกรล่าง 10 ซี่ เด็กจะใช้ฟันน้ำนมเต็มที่ ประมาณ 3 ถึง 6 ขวบ จากนั้นฟันแท้จะทยอยกันขึ้นมา แทนที่ฟันน้ำนม โดยธรรมชาติ ฟันน้ำนมจะค่อย ๆ โยกและหลุดไปเอง ฟันแท้ซี่แรก จะเป็นฟันกรามใหญ่ ขึ้นเมื่ออายุประมาณ 6 ขวบ จนถึงอายุประมาณ 12 ปี เด็กควรมีฟันแท้อยู่ในปาก ประมาณ 28 ซี่ ส่วนอีก 4 ซี่ที่เหลือ เป็นฟันกรามซี่สุดท้าย จะขึ้นระหว่างอายุประมาณ 18-25 ปี การขึ้นของฟันซี่นี้ อาจเร็วหรือช้า ยากง่ายต่าง ๆ กัน เมื่อขึ้นมาครบในขากรรไกร ทั้งบนและล่าง ซ้ายและขวาแล้ว จะทำให้เรามีฟันครบ 32 ซี่
ทุกคนคงต้องยอมรับว่า "ปาก" เป็นอวัยวะที่มีความสำคัญต่อทุกชีวิต ในช่องปากมีอวัยวะที่สำคัญ คือ เหงือก ลิ้น กระพุ้งแก้ม เพดาน และลำคอส่วนต้น ฟัน จัดเป็นอวัยวะที่แข็งแรงที่สุดในร่างกาย โดยมีความแข็งแรงมากกว่ากระดูก เป็นอวัยวะเดียวที่ไม่มีการเติบโต เพิ่มขนาด หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หลังจากขึ้นมาในช่องปากแล้ว แต่ฟันยังเป็นอวัยวะที่มีชีวิต รับความรู้สึก และเจ็บปวดได้ ถ้ามีการสึกกร่อน หรือทำลายช่องเนื้อฟันลง ฟันมีความสำคัญต่อชีวิต ตั้งแต่เป็นฟันน้ำนม ที่เริ่มขึ้นในวัยเด็ก จวบจนเป็นฟันแท้ที่จะอยู่กับเราไปจนกระทั่งถึงวัยชรา ถ้าหากเราเอาใจใส่ดูแล รักษาความสะอาด ด้วยการแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟันอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน หลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นโทษกับฟัน เช่น ขนมหวานเหนียวติดฟัน น้ำอัดลม เป็นต้น และที่สำคัญคือ ต้องใช้ฟันให้ถูกหน้าที่ คือ ฟันมีหน้าที่บดเคี้ยวอาหาร ช่วยในการออกเสียง และช่วยสร้างรอยยิ้มที่ประทับใจ และควรหาเวลาไปพบทันตแพทย์ เพื่อการบูรณะ และป้องกันความผิดปกติปีละครั้ง เพียงเท่านี้ เราก็จะมีสุขภาพฟันที่ดี
ดังนั้นคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของสถานบริการสาธารณสุข เป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอเหมาะสมที่จะดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองคลินิกสุขภาพเด็กดีได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็น
ความสำคัญของการดูแลช่องปากของทุกวัย จึงเห็นควรจัดทำโครงการฟันสะอาด สุขภาพดี เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์บุตรของตนเอง และผู้ปกครองเด็กคลินิกสุขภาพเด็กดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรได้
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาช่องปากและฟัน
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ มีฟันผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์ (ตามโครงการ) ๑.เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร ๒. เพื่อให้ความรู้และฝึกทักษะในการดูแลเด็กเกี่ยวกับการเช็ดทำความสะอาดช่องปากและการให้โภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็ก ๓. เพื่อลดอัตราโรคฟันผุและการเกิดโรคปริทันต์ในหญิงตั้งครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี
ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร ๒. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปีมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ๓. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
การประเมินผล (ตัวชี้วัด / เกณฑ์ตามโครงการ)
๑.ผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๘๐
๒.ร้อยละ 80 เด็กอายุ 0-5 ปี ปราศจากฟันผุ
ผลการดำเนินงาน
- กลุ่มเป้าหมายเป็นหญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ซึ่งได้เข้าร่วมการอบรมโครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ จำนวน ๖๐ คน
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรได้
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ ตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาช่องปากและฟันของตนเองและบุตร
- ผู้ปกครอง และหญิงตั้งครรภ์ สามารถดูแลช่องปากตนเองและบุตรมีปัญหาฟันผุลดลง
ปัจจัยสนับสนุนต่อโครงการ
1. กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสากอ ให้การสนับสนุนในการดำเนินโครงการอย่างเต็มที่
2. แกนนำสุขภาพ และอาสามสมัครสาธารณสุข ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มาเข้าร่วมโครงการ
ปัญหาและอุปสรรค ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร 2. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปีมีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ 3. ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ดูแลทันตสุขภาพ โดยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมกลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมผู้ปกครองสำหรับหนูน้อยฟันสวย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ 66-L2542-01-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสาลินี สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......