กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด ปี 2566 ”

ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางคอลีเปาะ ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L2975 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด ปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L2975 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพอนามัย เป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคน ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีที่จะอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ได้เท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับเพื่อน และครูผู้ดูแลเด็ก อย่างสงบสุข มีความสะดวกสะบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัยในการพัฒนาส่งเสริมพัฒนาการแลความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์เด็กเล็กที่มีการจัดการ ควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กรับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ ภายใต้แวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และครูผู้ดุแลเด็กได้รับการถูกส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างสุขกาย สบายใจ รวมทั้งเรื่องอาหารและโภชนการก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียน เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณื สังคม และสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตเป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด มีเด็กจำนวน 58 คน ปัญหาที่พบส่วนใหญ่เกี่ยวกับเด็ก คือ เด็กไม่ชอบทานผัก 18 คน ร้อยละ 62.06 เด็กไม่ชอบดื่มนมรถจืดประมาณ 10 คน ร้อยละ 19.51 เด็กไม่ชอบกินผลไม้ 5 คน ร้อยละ 13.79 จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ผ่านมากับเด็กเอง ในอนาคตข้างหน้า ครู ผู้ปกครอง และชุมชนมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็กได้ยิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรม โดยสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่องระหว่างบ้าน และศูนย์เด็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจกัน ดังนั้น เพื่อสร้างสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากปัญหาดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด จึงเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญเรื่องโภชนาการและสุขอนามัย แต่ทั้งนี้จะต้องร่วมมือกันหลายอย่างหลายฝ่าย เช่น ครูผู้ปกครองเด็ก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้มาตรฐานในการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆการจัดโภชนาการให้กับเด็กและการดูแลป้องกันควบคุมโรคติดต่อต่างๆ (ตัวชี้วัดความสำเร็จ ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารมีความรู้เกี่ยวกับด้านสุขอนามัย โภชนาการสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสันอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก (ตัวขี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคนมและ ผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ) 3.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี (ตัวขี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80มีสุขอนามัยที่ดี )

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหารมีความรู้ และสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันด้าน สุขอนามัยต่าง ๆการจัดโภชนาการให้กับเด็กและการดูแลป้องกันควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆ
    2. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยสามารถดื่ม นม กินผัก และผลไม้ได้เพิ่มขึ้น
    3. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด มีสุขภาพอนามัยที่ดี เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐาน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้มาตรฐานในการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆการจัดโภชนาการให้กับเด็กและการดูแลป้องกันควบคุมโรคติดต่อต่างๆ (ตัวชี้วัดความสำเร็จ ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารมีความรู้เกี่ยวกับด้านสุขอนามัย โภชนาการสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสันอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก (ตัวขี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคนมและ ผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ) 3.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี (ตัวขี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80มีสุขอนามัยที่ดี )
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 58
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้มาตรฐานในการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆการจัดโภชนาการให้กับเด็กและการดูแลป้องกันควบคุมโรคติดต่อต่างๆ (ตัวชี้วัดความสำเร็จ ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารมีความรู้เกี่ยวกับด้านสุขอนามัย โภชนาการสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ) 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสันอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก (ตัวขี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคนมและ ผักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ) 3.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี (ตัวขี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80มีสุขอนามัยที่ดี )

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสามยอด ปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L2975

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางคอลีเปาะ ดอเลาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด