กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง


“ โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง ”

ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายบำรุง พรหมเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง

ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5205-01-02 เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5205-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองหรังที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรงเนื่องจากมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น การบริโภคในครัวเรือนมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้จากข้อมูลขยะมูลฝอยภายในตำบล มีอัตราเพิ่มขึ้นซึ่งขยะเหล่านั้น มีทั้งขยะที่ย่อยสลายได้ง่ายและขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ซึ่งขยะเหล่านี้ก่อให้เกิดมลภาวะ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน ส่วนขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกบางส่วนมีการจัดการที่ไม่ถูกสุขลักษณะ และนอกจากนี้ขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก เกิดการเน่าเสียได้ง่ายทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นปัญหาของภาวะโลกร้อน ซึ่งในปัจจุบันทางกระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินนโยบายเพื่อเป็นการขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะ โดยการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน เพื่อเป็นการลดก๊าซเรือนกระจกและการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ ตามนโยบายของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ซึ่งขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นนั้นมักจะเกิดจากแหล่งที่พักอาศัย สถานประกอบการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล โรงเรียน วัด และอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งปัญหาดังกล่าวองค์การบริหารส่วนตำบลคลองหรังได้ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น และได้พยายามหาวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว การกำจัดขยะไม่ให้มี คงกำจัดไม่ได้ เพราะในชีวิตประจำวันเราต้องใช้สิ่งของที่เป็นเครื่องอุปโภค บริโภค จึงจำเป็นต้องมีของเหลือทิ้ง วิธีที่จะทำให้ขยะไม่เป็นปัญหากับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ก็คือการลดปริมาณขยะการทำให้ปริมาณขยะที่จะทิ้งลดลง อาจโดยการนำสิ่งที่เป็นขยะนั้นกลับมาใช้ประโยชน์อีกหรือการลดปริมาณการใช้และให้เหลือสิ่งที่จะทิ้งเป็นขยะจริงเพียงเท่าที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์อื่นใดได้อีก ในการนี้ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหรัง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง เพื่อส่งเสริมให้ราษฎรภายในหมู่บ้าน หรือชุมชนของตนเองได้มีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะเปียกออกจากขยะทั่วไป เพื่อเป็นการลดการสะสมเชื้อโรค และส่งเสริมการจัดการขยะภายในครัวเรือนและคัดแยกอย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะทั้ง 4 ประเภทอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนคัดแยกขยะเปียกออกจากขยะทั่วไป
  3. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคที่มากับขยะมูลฝอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง
  2. กิจกรรมการคัดแยกขยะทั้ง 4 ประเภท และประโยชน์จากการคัดแยกขยะเปียก
  3. กิจกรรมสอนการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน
  4. กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามการดำเนินการจัดการขยะเปียก ทุก 3 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 420
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะเปียก
  2. ประชาชนมีการคัดแยกขยะเปียกออกขยะทั่วไป
  3. แหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคที่มากับขยะมูลฝอยลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะทั้ง 4 ประเภทอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะทั้ง 4 ประเภท ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนคัดแยกขยะเปียกออกจากขยะทั่วไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการคัดแยกขยะเปียกออกจากขยะทั่วไป ร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคที่มากับขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคที่มากับขยะมูลฝอย
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 420
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 420
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการจัดการขยะทั้ง 4 ประเภทอย่างถูกต้อง (2) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนคัดแยกขยะเปียกออกจากขยะทั่วไป (3) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคที่มากับขยะมูลฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง (2) กิจกรรมการคัดแยกขยะทั้ง 4 ประเภท และประโยชน์จากการคัดแยกขยะเปียก (3) กิจกรรมสอนการจัดทำถังขยะเปียกครัวเรือน (4) กิจกรรมลงพื้นที่ติดตามการดำเนินการจัดการขยะเปียก ทุก 3 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5205-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบำรุง พรหมเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด