กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลดอน
รหัสโครงการ 66-L8419-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอน
วันที่อนุมัติ 28 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 กันยายน 2565 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 53,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

(ระบุความสำคัญของโครงการ ความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามโครงการนี้ โดยชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และสาเหตุของปัญหา หรืออาจจะระบุสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความสำเร็จของโครงการ) ตามที่พระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕มาตรา ๑๘(๙)และมาตรา ๔๗ได้กำหนดให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นมีมติเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙เห็นชอบให้การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งหมายถึงกองทุนสุขภาพตำบลโดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงโดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นเป็นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นโยบายดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการการกระจายอำนาจบนหลักแนวคิดลดบทบาทของรัฐส่วนกลางในการดำเนินการเอง กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนจัดตั้งกองทุนเมื่อปีงบประมาณ ๒๕๔๙นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของตำบลดอนที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่การเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน และเพื่อให้เป็นไปตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.๒๕๕๗ซึ่งได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม (๔) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น และบาทต่อหน่วยโดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลมและครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น(ระบุความสำคัญของโครงการ ความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามโครงการนี้ โดยชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และสาเหตุของปัญหา หรืออาจจะระบุสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความสำเร็จของโครงการ) ตามที่พระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕มาตรา ๑๘(๙)และมาตรา ๔๗ได้กำหนดให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นมีมติเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙เห็นชอบให้การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งหมายถึงกองทุนสุขภาพตำบลโดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงโดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นเป็นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นโยบายดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการการกระจายอำนาจบนหลักแนวคิดลดบทบาทของรัฐส่วนกลางในการดำเนินการเอง กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนจัดตั้งกองทุนเมื่อปีงบประมาณ ๒๕๔๙นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของตำบลดอนที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่การเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน และเพื่อให้เป็นไปตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.๒๕๕๗ซึ่งได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม (๔) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น และบาทต่อหน่วยโดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลมและครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 1.ประชุม/อบรมคณะกรรมการกองทุนฯคณะทำงานกองทุนฯและคณะอนุกรรมการกองทุนฯ(28 ก.ย. 2565-29 ก.ย. 2566) 53,000.00                          
รวม 53,000.00
1 1.ประชุม/อบรมคณะกรรมการกองทุนฯคณะทำงานกองทุนฯและคณะอนุกรรมการกองทุนฯ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 126 53,000.00 6 27,625.00
15 ก.พ. 66 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ครั้งที่ 1 10 3,250.00 -
20 ก.พ. 66 ประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2566 20 8,500.00 7,300.00
23 ก.พ. 66 อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนๆ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา 22 12,000.00 -
9 มี.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 2/2565 19 8,075.00 6,075.00
9 มี.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1/2566 3 675.00 675.00
20 ก.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 3/2566 19 8,075.00 5,675.00
12 ก.ย. 66 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ครั้งที่ 2 10 3,250.00 -
28 ก.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 4/2566 20 8,500.00 7,225.00
28 ก.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565 3 675.00 675.00
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน - กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ 2. ขั้นตอนการดำเนินงาน - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- จัดเตรีมสถานที่ในการประชุม 3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด - จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน 4. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการบริหารจัดการกองทุน - จัดอบรมหรือส่งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการกองทุน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะกรรมการกองทุนคณะอนุกรรมการคณะทำงานและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
  2. การเสนอแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.ย. 2565 00:00 น.