โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ ”
หัวหน้าโครงการ
นางวิไลวรรรณ อย่างดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5294-03-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5294-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 2-5 ปี เป็นช่วงวัยที่สมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยหลักที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็ก นั่นคือ อาหาร เพราะอาหารทำให้ระบบในร่างกายเป็นปกติ การบริโภคอาหารที่ถูกหลักเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายในทุกมื้อ นอกจากจะทำให้ร่างกายของเด็กแข็งแรงสมบูรณ์ แล้วยังทำให้มีภาวะโภชนาการที่ดีอีกด้วย โดยเฉพาะมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญที่สุด เมื่อเด็กได้รับประทานอาหารเช้าอย่างเพียงพอและมีคุณภาพเป็นประจำทุกวัน จะส่งผลต่อสมองทำให้เด็กมีสมาธิ และมีความสามารถในการเรียนรู้ได้ดี ในทางตรงข้ามหากเด็กบริโภคอาหารไม่ได้สัดส่วนกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน หรือได้รับอาหารที่ไม่มีประโยชน์ จะทำให้การทำงานของร่างกายผิดปกติ อาจเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆหรือทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการได้ แต่เด็กในช่วงวัยนี้มักจะมีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหาร เนื่องจากเด็กจะสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวมากกว่า และยังไม่รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดังนั้น พ่อแม่ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็ก จึงมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กในช่วงวัยนี้และให้เด็กมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ดี มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์เจริญเติบโตสมวัย
จากการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการ และด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ พบว่าเด็กมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน 17 คนและจากปัญหาของครอบครัวมีรายได้น้อย ทำให้มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมจำนวน 3 คนรวมจำนวน 20 คนจึงเป็นสาเหตุเด็กได้รับประทานอาหารมื้อเช้าไม่เป็นประจำทุกวัน จากข้อมูลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ ขึ้น เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมด้านการเสริมสร้างโภชนาการที่ดีแก่เด็กปฐมวัยระหว่างผู้ปกครองเด็ก ครู/ผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่มีสารอาหารครบถ้วนทุกวัน และส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรงได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ด้านโภชนาการและการเจริญเติบโตให้เหมาะสมกับวัย เกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม
- เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของการรับประทานอาหารเช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินน้ำหนัก-ส่วนสูงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- กิจกรรมที่ 2กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง เรื่อง ความสำคัญของอาหารและการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย
- 3.กิจกรรมส่งเสริมอาหารมื้อเช้าแสนอร่อยและติดตามภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัยทุกคน
- เด็กทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และส่งเสริมการรับประทานอาหารเช้าของเด็กมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย
1.00
2
เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยมีโภชนาการที่ดีเป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม
1.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของการรับประทานอาหารเช้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ขอผู้ปกครองให้ความสำคัญและร่วมส่งเสริมการรับประทานอาหารมื้อเช้าที่มีประโยชน์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
8
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของการรับประทานอาหารเช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินน้ำหนัก-ส่วนสูงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) กิจกรรมที่ 2กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง เรื่อง ความสำคัญของอาหารและการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย (3) 3.กิจกรรมส่งเสริมอาหารมื้อเช้าแสนอร่อยและติดตามภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5294-03-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิไลวรรรณ อย่างดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ ”
หัวหน้าโครงการ
นางวิไลวรรรณ อย่างดี
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5294-03-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5294-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 2-5 ปี เป็นช่วงวัยที่สมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยหลักที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็ก นั่นคือ อาหาร เพราะอาหารทำให้ระบบในร่างกายเป็นปกติ การบริโภคอาหารที่ถูกหลักเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายในทุกมื้อ นอกจากจะทำให้ร่างกายของเด็กแข็งแรงสมบูรณ์ แล้วยังทำให้มีภาวะโภชนาการที่ดีอีกด้วย โดยเฉพาะมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญที่สุด เมื่อเด็กได้รับประทานอาหารเช้าอย่างเพียงพอและมีคุณภาพเป็นประจำทุกวัน จะส่งผลต่อสมองทำให้เด็กมีสมาธิ และมีความสามารถในการเรียนรู้ได้ดี ในทางตรงข้ามหากเด็กบริโภคอาหารไม่ได้สัดส่วนกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน หรือได้รับอาหารที่ไม่มีประโยชน์ จะทำให้การทำงานของร่างกายผิดปกติ อาจเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆหรือทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการได้ แต่เด็กในช่วงวัยนี้มักจะมีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหาร เนื่องจากเด็กจะสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวมากกว่า และยังไม่รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดังนั้น พ่อแม่ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็ก จึงมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กในช่วงวัยนี้และให้เด็กมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ดี มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์เจริญเติบโตสมวัย จากการสำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการ และด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ พบว่าเด็กมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน 17 คนและจากปัญหาของครอบครัวมีรายได้น้อย ทำให้มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมจำนวน 3 คนรวมจำนวน 20 คนจึงเป็นสาเหตุเด็กได้รับประทานอาหารมื้อเช้าไม่เป็นประจำทุกวัน จากข้อมูลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ ขึ้น เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมด้านการเสริมสร้างโภชนาการที่ดีแก่เด็กปฐมวัยระหว่างผู้ปกครองเด็ก ครู/ผู้ดูแลเด็กและเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่มีสารอาหารครบถ้วนทุกวัน และส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรงได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ด้านโภชนาการและการเจริญเติบโตให้เหมาะสมกับวัย เกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม
- เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของการรับประทานอาหารเช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินน้ำหนัก-ส่วนสูงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- กิจกรรมที่ 2กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง เรื่อง ความสำคัญของอาหารและการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย
- 3.กิจกรรมส่งเสริมอาหารมื้อเช้าแสนอร่อยและติดตามภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัยทุกคน
- เด็กทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และส่งเสริมการรับประทานอาหารเช้าของเด็กมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยมีโภชนาการที่ดีเป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม |
1.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของการรับประทานอาหารเช้า ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ขอผู้ปกครองให้ความสำคัญและร่วมส่งเสริมการรับประทานอาหารมื้อเช้าที่มีประโยชน์สำหรับเด็กปฐมวัย |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | 8 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | 20 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารเช้าที่ประโยชน์และส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่เหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของการรับประทานอาหารเช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินน้ำหนัก-ส่วนสูงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) กิจกรรมที่ 2กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็กและผู้ที่เกี่ยวข้อง เรื่อง ความสำคัญของอาหารและการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย (3) 3.กิจกรรมส่งเสริมอาหารมื้อเช้าแสนอร่อยและติดตามภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5294-03-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิไลวรรรณ อย่างดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......