กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์


“ โครงการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”

ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสำรวย ว่องไวยุทธ์

ชื่อโครงการ โครงการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1501-1-001 เลขที่ข้อตกลง 014/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1501-1-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน เป็นปัญหาด้านสุขภาพและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศ สำหรับประเทศไทยและประเทศทางแถบเอเชียนั้น ผู้เป็นเบาหวานร้อยละ 99 เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากมายทั้งชนิดเฉียบพลัน เช่น ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ และการติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อนชนิดเรื้อรังได้แก่ ไตวาย แผลเรื้อรังที่เท้า ต้อกระจกและตาบอด โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เป็นต้น และภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญมากของโรคเบาหวานที่ต้องให้ความสนใจไม่น้อยไปกว่าภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ นั่นก็คือ แผลที่เท้า แผลที่เท้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมักก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ทำให้บริเวณเท้าชา ไม่รู้สึกเจ็บปวด ไม่รับรู้แรงกดดัน หรืออาจสูญเสียการรับรู้ร้อนหนาวได้ สิ่งเหล่านี้ทำให้ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุ หรือแม้แต่เมื่อมีแผลเกิดขึ้นที่เท้าก็จะไม่รู้สึกเจ็บทำให้แผลนั้นลุกลาม ถึงขั้นต้องตัดเท้า และเสียชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์ มีกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 165 คน ซึ่งมีจำนวนหนึ่งที่เป็นเรื้อรังมานาน ส่งผลให้เกิดการอักเสบของเส้นประสาท ทำให้เกิดอาการต่างๆ ตามที่เส้นประสาทไปเลี้ยง ได้แก่ ชาปลายมือปลายเท้า นำไปสู่การเกิดแผลที่เท้าได้ง่าย ทำให้ติดเชื้อได้ง่าย หลอดเลือดแดงตีบทำให้การอักเสบลุกลามง่าย แผลหายยากเมื่อเกิดเนื้อตาย โอกาสตัดเท้าสูง ทั้งยังส่งผลกระทบด้านการเงิน เวลา การทำงาน ความทุกข์ทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ได้เห็นถึงความสำคัญในการดูแลเท้ากลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจมีปัญหาอาการแทรกซ้อนจากการที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง จึงจัดให้มีการส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูร่างกายในผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาเท้า ด้วยการแช่เท้าและการนวดฝ่าเท้าลดอาการชาเท้า เพื่อป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนที่เท้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด ชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
  2. 2.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
  3. 3.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าวัสดุสำนักงาน
  2. 2.จัดจ้างทำเอกสารประกอบการอบรม
  3. ค่าอาหาร
  4. ค่าวัสดุสาธิต
  5. ค่าวัสดุสาธิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด ชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน ๒. ผู้ป่วยเบาหวานมีสุขภาพเท้าที่ดี สามารถป้องกันการเกิดแผลที่เท้าได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด ชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ได้รับการดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทย
0.00

 

2 2.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายที่ชาเท้าร้อยละ 80 ได้รับการกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย อาการชาเท้าลดลง
0.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด ชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน (2) 2.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นกับเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน (3) 3.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวัสดุสำนักงาน (2) 2.จัดจ้างทำเอกสารประกอบการอบรม (3) ค่าอาหาร (4) ค่าวัสดุสาธิต (5) ค่าวัสดุสาธิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1501-1-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสำรวย ว่องไวยุทธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด