กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ”

ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสมาน แซดอซา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง

ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2511-2-32 เลขที่ข้อตกลง 31/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2511-2-32 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ยังพบว่าเป็นปัญหา ที่สำคัญของประเทศไทย จากฐานข้อมูลของสำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พบว่าอุบัติการณ์ผู้ป่วยราย ใหม่ในปี 2563 อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป เท่ากับ 328 ต่อ ประชากร 100,000 คน ซึ่งมีแนวโน้มสูงมากขึ้น ข้อมูลอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย stroke ที่ 30 วัน สูงกว่าการเสียชีวิตในโรงพยาบาลประมาณร้อยละ 6 บ่ง ชี้ว่าการแลผู้ป่วยในระยะ intermediate care น่าจะมี ปัญหา เพราะเกิดการเสียชีวิตของผู้ป่วยในช่วง 30 หลัง ออกจากโรงพยาบาล ซึ่งอาจเกิดจากมีภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อของผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ได้แก่ aspiration pneumonia, urinary tract infection หรือ pressure sore ดังนั้นการพัฒนาการวางแผนการ จำหน่ายผู้ป่วย discharge planning และการติดตาม ให้คำปรึกษา และเยี่ยมบ้านช่วงแรกหลังออกจาก โรงพยาบาลนั้นมีความสำคัญอย่างมาก การมีทีมสุขภาพ ประกอบด้วย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว พยาบาล นัก กายภาพบำบัด และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพตำบล หรือหน่วยปฐมภูมิมีความจำเป็นอย่างยิ่งใน การดูแลผู้ป่วยหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล โรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในเนื้อสมอง intracerebral hemorrhage นั้นเป็นสิ่งที่ทีมต้องให้ความ ตระหนักมากขึ้น เนื่องจากอัตราการเสียชีวิตนั้นสูงมากและไม่มีแนวโน้มที่จะลดลงด้วย ดังตารางที่ 5 ซึ่งจะพบ ว่าอัตราการเสียชีวิตนั้นสูงประมาณ 1 ใน 4 ของผู้ป่วย นั้นเสียชีวิต โดยอาจเกิดจากธรรมชาติของโรคที่มีอันตรายสูงมาก หรือเกิดจากภาวะแทรกซ้อนระหว่างการ รักษาในโรงพยาบาล เพราะผู้ป่วยเหล่านี้มีอัตราการใส่ ท่อช่วยหายใจสูงกว่าผู้ป่วย cerebral infarction มาก อาจเกิดภาวะ hospital acquired pneumonia ดังนั้นการ ดูแลผู้ป่วยในหอผู้ป่วย stroke unit อาจเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ จะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตลงได้ ซึ่งในปัจจุบันผู้ป่วย intracerebral hemorrhage นั้นมักจะไม่ได้ให้การรักษา ในหอผู้ป่วย stroke unit เนื่องจากที่ผ่านมาหอผู้ป่วย stroke unit จะรับดูแลเฉพาะผู้ป่วย cerebral infarction เป็นหลัก และยังมีไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้ป่วย ดังนั้นสิ่ง ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง คือ การเพิ่มหอผู้ป่วย stroke unit สำหรับผู้ป่วย intracerebral hemorrhage โดยการ ขยายหอผู้ป่วย stroke unit ให้ดูทั้งผู้ป่วย cerebral infarction ร่วมกับ intracerebral hemorrhage หรือจะ แยกหอผู้ป่วย stroke unit เป็น 2 ส่วน คือ เฉพาะผู้ป่วย cerebral infarction และเฉพาะผู้ป่วย intracerebral hemorrhage ในส่วนของสถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในอำเภอรือเสาะในงบประมาณ 2564 จำนวน 186 ราย ปีงบประมาณ2565 จำนวน 258 ราย เพิ่มขึ้นจากเดิม 72 ราย ซึ่งเราจะเห็นได้ว่ามีอัตราการเกิดโรคเพิ่มขึ้นทุกปี จากสถานการณ์ดั่งกล่าวจึงทำให้เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านรือเสาะได้มองเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมองขึ้นเพื่อจะได้เป็นประโชนย์ต่อชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่อสม.สามารถประเมินส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองไปโรงรพ.รือเสาะในภาย 4 ชม.
  2. 2. เพื่ออบรมเสริมความรู้เพิ่มพูนทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสุขภาพอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อยที่๑ การจัดอบรมให้ความรู้ผู้นำชุมชนและผู้ป่วยเรื้อรังเชิงปฏิบัติการในเรื่องของโรคหลอดเลือดสมอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เจ้าหน้าที่อสม.มีความรู้ความสามารถในการประเมินและส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้องและทันเวลา 2.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้รับการส่งต่อและรักษาภายใน 4 ชม. 3.เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและความพิการจากโรคหลอดเลือดสมอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่อสม.สามารถประเมินส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองไปโรงรพ.รือเสาะในภาย 4 ชม.
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้รับการส่งต่อโรงพยาบาลใกล้บ้านภายในระยะเวลา 4 ชม. ร้อยละ 100
1.00 0.00

 

2 2. เพื่ออบรมเสริมความรู้เพิ่มพูนทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2.เพื่ออบรมเสริมความรู้เพิ่มพูนทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสุขภาพอย่างถูกต้อง ร้อยละ100
1.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่อสม.สามารถประเมินส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองไปโรงรพ.รือเสาะในภาย 4 ชม. (2) 2. เพื่ออบรมเสริมความรู้เพิ่มพูนทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสุขภาพอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อยที่๑ การจัดอบรมให้ความรู้ผู้นำชุมชนและผู้ป่วยเรื้อรังเชิงปฏิบัติการในเรื่องของโรคหลอดเลือดสมอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังดูแลป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2511-2-32

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมาน แซดอซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด