กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี ”

เทศบาล ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย สว่างวัน

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี

ที่อยู่ เทศบาล ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L7575-01-05 เลขที่ข้อตกลง 05/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L7575-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีความเสี่ยงและเป็นระดับประเด็นที่ท้าทายจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส 2019 (COVID-19) และโรคอุบัติใหม่ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต จึงมีความจำเป็นที่ต้องเร่งสร้างความรู้ด้านสุขภาพให้ประชาชนเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการสุขภาพของตนเองได้ ประชาชนไทย เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น ทั้งโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเกิดจากที่มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสม จาการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พบว่าคนวัยทำงานอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีพฤติกรรมกินผักผลไม้ต่อวันเพียงพอตามข้อแนะนำเพียงร้อยละ 25.9 มีดัชนีมวลกาย (ฺBMI) อยุ่ในเกณฑ์ปกติเพียงร้อยละ 36.43 มีภาวะอ้วน ร้อยละ 37.5 พบโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 24.7 โรคเบาหวานร้อยละ 8.9 ภาวะไขมันในเลือดสูงร้อยละ 16.4 และจากการสำรวจระดับกิจกรรมทางกายในประชากรไทย โดยศูนย์พัฒนาองค์กรความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) พบว่า ในปี2563ประชากรวันทำงาน (อายุ 18-59 ปี) มรกิจกรรมมางกายเพียงพอลดลงเหลือร้อยละ 54.7 จากที่ปี 2562 มีกิจกรรมทางกายเพียงพอร้อยละ 74.6 และจากการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมประชาชนไทยวันทำงาน (15-59 ปี) มีความรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. อยู่ระดับไม่ดีร้อยละ 49 จึงอาจส่งผลให้ระดับออกกำลังกาย และพฤติกรรมการจัดการความเครียด จากการคัดกรองสุขภาพของประชาชนในเขตโณงพยาบาลตะโหมด ปี 2565 พบว่า มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 821 ราย และกลุ่มเสี่ยงโรคคสามดันโลหิตสูง จำนวน 661 ราย (ระบบ HHC กระทรวงสาธารณสุุข 2565 ) จาการศึกษาประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนวัยทำงาน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ สามารถเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพและเข้าใจข้อมูลด้านสุขภาพ พบว่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 และ 4.16 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก สำหรับการประเมินข้อมูลและบริการสุขภาพ และการประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 และ 3.93 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดีและการประเมินพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงาน พบว่า ประชาชนทำงานส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมการจัดการความเครียด การสูบบุหรี่ และการดื่มสุราพบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 4.47 และ 6.29 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก สำหรับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อโควิด-19 พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดี พฤติกรรมการบริโภคอาหารและการการออกกำลังกาย พบค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.37 และ 3.28 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับพอใช้ (โสรยา มีหมื่นผล 2565) ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมการดูแลสุภาพที่เหมาะสม จึงต้องยกระดับความรอบรู้ดเ้านสุขภาพให้กลุ่มคนดังกล่าว สามารถเข้าถึงเข้าใจข้อมูลความรู้เด้านสุขภาพ และตัดสินใจจัดการสุขภาพตนเองให้มีสุขภาพ และการตัดสินใจจัดการสุขภาพตนเองให้สุขภาพดีได้ นำไปสู่การสร้างผลผลิต สร้างรายได้ครัวเรือนสร้างสังคมแห่งความสุข เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี ตอบสนองต่อการขับเคลื่อนเศรษกิจของประเทศชาติให้มีความมั่นคง มั่นคั่ง ยังยืน กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลตะโหมด ทำหน้าที่เป็นหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพ และให้บริการรักษษโรคเบื่องต้นในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลแม่ขรี ตระหนักถึงความสำคัญที่ดูแลสุขภาพแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับที่ถูกต้องเหมาะสม มีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเลี่งลดลง ในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี ปีงบประมาณ 2566 ขึ้นเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างเสริมศักยภาพแกนนำดีวิถีใหม่ในชุมชนโดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดี หุ่นดี ที่บ้าน
  2. 2.เพื่อส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ขั้นเตรียมการ
  2. 2.ขั้นดำเนินการ
  3. 3. ขั้นสรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 7.2 กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคที่เหมาะสม เพิ่มขึ้นร้อยละ 20


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างเสริมศักยภาพแกนนำดีวิถีใหม่ในชุมชนโดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดี หุ่นดี ที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และแนวทางในการปรับเปลี่ยพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคที่เหมาะสม เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างเสริมศักยภาพแกนนำดีวิถีใหม่ในชุมชนโดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดี หุ่นดี ที่บ้าน (2) 2.เพื่อส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ขั้นเตรียมการ (2) 2.ขั้นดำเนินการ (3) 3. ขั้นสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำและส่งเสริมความรอบรู้สู่สุขภาพดีวิถีใหม่ โดยใช้หลักสูตร 7 สัปดาห์สุขภาพดีหุ่นดี ที่บ้านในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L7575-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชัย สว่างวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด