กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เงินรายได้สถานศึกษา

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1536-2-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1536-2-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม เสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน ชื่อกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม ประเภทการสนับสนุน  สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น [ข้อ 7 (2)] หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม  หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
  กองการศึกษาฯ

ชื่อองค์กร/กลุ่มคน (5 คน) ชื่อองค์กร โรงเรียนบ้านคลองคุ้ย กลุ่มคน (ระบุ 5 คน)
1. .................................................................. 2. .................................................................. 3. .................................................................. 4. .................................................................. 5. .................................................................. วันอนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ ระหว่าง วันที่ 1 เดือน …พฤศจิกายน... พ.ศ. ...2565...
ถึง วันที่ 31 เดือน …พฤษภาคม… พ.ศ. ...2566... งบประมาณ จำนวน 30,000 บาท
(สามหมื่นบาทถ้วน) หลักการและเหตุผล
        การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาผู้เรียนจึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคม มีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้ว การส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน  เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยแก่นักเรียน การให้บริการด้านสุขภาพอนามัย การให้ความรู้ด้านสุขภาพ ช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในปัจจุบันหลักสูตรการเรียนการสอนได้มุ่งเน้นที่จะส่งเสริม พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีการคิดเป็น ทำเป็น อีกทั้งการวิเคราะห์และสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีระบบ ทางด้านร่างกายให้มีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ มีนิสัยรักการออกกำลังกาย เพื่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม โดยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้แสดงออกถึงความสามารถพิเศษทางด้านกีฬา ในฐานะที่โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่ให้ความรู้และวิธีที่จะทำให้ผู้เรียนที่กำลังเป็นเยาวชนของชาติ ได้มีการออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้มีกิจกรรมการเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในการสร้างชื่อเสียงให้กับตนเองและสถาบันการศึกษาได้เป็นอย่างดียิ่ง เป็นปัจจัยหนึ่งที่จำเป็นในการเสริมสร้างให้นักกีฬา ได้มีโอกาสฝึกฝนทักษะของกีฬาแต่ละประเภทให้บรรลุถึงเป้าหมายได้เป็นอย่างดี
จากสำรวจข้อมูลโภชนาการของโรงเรียนจะเห็นว่ามีจำนวนนักเรียนร้อยละ20 มีภาวะโภชนาการค่อนข้างอ้วนการและจากการทดสอบสมรรถภาพนักเรียน พบว่านักเรียนร้อยละ 65 ไม่ผ่านเกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย นักเรียนขาดทักษะการออกกำลังกายที่ถูกวิธี ไม่ออกกำลังกาย หมกหมุ่นอยู่กับโทรศัพท์มือถือ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้และหันมาดูแลรักษาสุขภาพของตนเองรู้จักการใช้อุปกรณ์กีฬา สนุกสนานกับการออกกำลังกายประเภทต่างๆที่ส่งเสริมสุขภาพได้แก่ฮูล่าฮูบ แบดมินตัน และเปตอง ด้วยเหตุ จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายที่ถูกต้องและมีอุปกรณ์การออกกำลังกายที่เพียงพอสำหรับนักเรียน ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านคลองคุ้ย จึงจัดโครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนขึ้น เป้าหมาย นักเรียนในโรงเรียนบ้านคลองคุ้ย จำนวน 100 คน พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านคลองคุ้ย

วิธีดำเนินการ
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. จัดประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินโครงการตามรายละเอียดของกิจกรรม     3.1 . จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยให้แข็งแรงและอบรมทักษะการเล่นกีฬา 3 ประเภทคือเปตอง ฮูล่าฮูป และแบดมินตัน ที่นำมาสู่การออกกำลังกายและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
      3.2 จัดหาอุปกรณ์การการกีฬา 3 ประเภท   4. ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานผล

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
        1. นักเรียนนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกาย           2. นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกาย และมีการเจริญเติบโตทางกายสมส่วน           3. นักเรียนออกกำลังกายได้อย่างถูกต้องตามอุปกรณ์กีฬาแต่ละชนิด           4. นักเรียนรักการออกกำลังกาย และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์โดยตรง วัตถุประสงค์ ข้อที่ นักเรียนทุกคนได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง ตัวชี้วัดความสำเร็จ นักเรียนร้อยละ100มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกาย ข้อที่ 2. นักเรียนสามารถเลือก/เล่นประเภทตามอุปกรณ์ชนิดกีฬา นักเรียนร้อยละ 90 เลือกประเภทกีฬาในการออกกำลังกายของตนเอง 1 คน 1 ประเภทกีฬา ข้อที่ 3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรักการออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นักเรียนร้อยละ80 ออกกำลังกายสัปดาห์ละ3 วันอย่างต่อเนื่อง 4 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพนักเรียนให้แข็งแรงมีสมรรถภาพทางกายและเจริญเติบโตสมส่วน ร้อยละ80 มีสมรรถภาพทางกายและเจริญเติบโตสมส่วน

กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย
ระบุชนิดกิจกรรมหลัก เช่น ประชุม รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ งบประมาณ ระบุเวลา 1. รายการอบรมทักษะการเล่นกีฬา 3 ประเภทกีฬา       1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 200 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท       1.2 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 ชุด ชุดละ 70 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท       1.3 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน ชั่วโมง 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
18,000
2. จัดหาอุปกรณ์กีฬา 1. ชุดอุปกรณ์กีฬาเปตอง จำนวน  3 ชุดๆละ 1,750  บาท เป็นเงิน 5,250 บาท 2. ชุดอุปกรณ์กีฬาแบดมินตัน จำนวน  9 ชุดๆละ 350  บาท เป็นเงิน 3,150 บาท 3. ชุดอุปกรณ์ฮูล่าฮูป จำนวน  20 ชุดๆละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 12,000
      รวมเป็นเงิน (สามหมื่นบาทถ้วน) 30,000

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1536-2-001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เงินรายได้สถานศึกษา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด