กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลุกฝังนิสัยพอเพียง ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เงินรายได้สถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำแพะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลุกฝังนิสัยพอเพียง

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1536-2-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลุกฝังนิสัยพอเพียง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลุกฝังนิสัยพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลุกฝังนิสัยพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1536-2-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 93
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม


    เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

    เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม

    ด้วย โรงเรียนบ้านลำแพะ มีความประสงค์จะจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลูกฝังนิสัยพอเพียง โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม เป็นเงิน ๑๖,๒๗0 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันสองร้อยเจ็ดสิบบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมดังนี้ ส่วนที่ 1 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ( สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมลงรายละเอียด)

    1. หลักการและเหตุผล

      อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในนักเรียนโรงเรียนบ้านลำแพะ นักเรียนที่มีภาวะสูงดีสมส่วน ลดลงจากร้อยละ 65.33 เป็นร้อยละ 65.05 ภาวะอ้วนและเตี้ยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.02 และร้อยละ 6.47 เป็นร้อยละ 11.65 และร้อยละ 10.39 เป็นเหตุให้นักเรียนมีปัญหาทุพโภชนาการ ซึ่งเด็กวัยเรียนอ.๑ ถึง ป.๖ เป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกายด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐกิจปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 3 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคลพฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จากการศึกษาข้อมูลสุขภาพของนักเรียน ปีพ.ศ.256๔ และบริบทสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนบ้านลำแพะ พบว่าโรงเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพและพฤติกรรมที่เสี่ยงของนักเรียนที่จะต้องแก้ไขอีกมาก และในปัจจุบันนั้นพบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน ร้อยละ21 ของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย ในขณะเดียวกันก็พบว่ายังมีนักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ18 ของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเกิดจากนักเรียนยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเองทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไป การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบๆโรงเรียนที่เอื้อต่อการทำให้นักเรียนมีปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่เกิดจากการขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ ถึงจะมีจำนวนการเกิดปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไปไม่มากแต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กไม่ได้เต็มศักยภาพ
      จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านลำแพะจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลูกฝังนิสัยพอเพียง เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนและที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย

    2. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กลุ่มเป้าหมาย         2.1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารในการรับประทานอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ   2.2 เพื่อเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีให้กับนักเรียนในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ 2.3 สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการช่วยดูแลนักเรียนให้ได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ๒.๔ ปลูกฝังนิสัยพอเพียง มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น


    3. วิธีดำเนินการ โรงเรียนบ้านลำแพะร่วมกับหน่วยบริการและเครือข่ายสุขภาพในชุมชน   3.1 เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม
      ๓.2 ประชุมคณะครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนแกนนำ
      ๓.3 ดำเนินโครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลูกฝังนิสัยพอเพียงประกอบไปด้วยกิจกรรม ๕ กิจกรรม ๓.๓.๑ กินถูกต้องตามหลักโภชนาการ (Foods for health)
      • ให้ความรู้แก่นักเรียนหน้าเสาธงในตอนเช้า ๓.๓.๒ ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน (The Nutritional Status of the Students)
      • สำรวจภาวะโภชนาการของนักเรียน โดยครูประจำชั้น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หาค่าดัชนีมวลกาย เทียบกับค่ามาตรฐาน
      • ครูประจำชั้น ทำบันทึกสุขภาพ บันทึกการเจริญเติบโตของนักเรียน และประเมินพัฒนาเด็กปฐมวัย
        ๓.๓.๓ เมนูอาหารกลางวันส่งเสริมโภชนาการ(Good food menu)
      • จัดทำเมนูอาหารกลางวันในโรงเรียนให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
      • จัดทำเมนูอาหารเช้าเพิ่มเติมให้กับนักเรียนที่มีภาวะร่างกายผอม หรือภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
      • ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม
      • มีการตรวจสอบเมนูอาหารโดยคณะกรรมการตรวจสอบภาวะโภชนาอาหารเป็นประจำทุกวัน
        ๓.๓.๔ การสร้างอาหารในโรงเรียน (My foods)
      • ให้นักเรียนแต่ละห้องปลูกผักที่มีประโยชน์ แบ่งเป็น   อนุบาล ๑ และ ๒ ปลูกถั่วงอก   อนุบาล ๓ ปลูกผักหวาน   ป.๑ ปลูกตะไคร้ ป.๒ ปลูกมะเขือ ป.๓ ปลูกพริก
        ป.๔ ปลูกคะน้า
        ป.๕ ปลูกผักบุ้ง ป.๖ ปลูกผักกาดขาว
        และรับผิดชอบแปลงผักของตนเองเพื่อนำมาใช้บริโภคเป็นอาหารกลางวันหรือนำกลับไปรับประทานที่บ้านเป็นการปลูกฝังนิสัยพอเพียงและทำให้นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ ๓.๓.๕ สร้างองค์ความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร (Knowledge Food)

    - อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนในคาบ Home Room พร้อมแจกแผ่นพับให้เรียนได้ศึกษาและนำกลับไปให้ผู้ปกครองที่บ้านเพื่อเป็นความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ครบ ๕ หมู่ อย่างพอเพียง
    ๓.4 ติดตามประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียน ก่อน – หลัง เข้าร่วมโครงการ
    3.5 สรุปผลการดำเนินงานโครงการนำส่งคณะกรรมการกองทุนฯ
    4. ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ.256๖

    1. กลุ่มเป้าหมายและสถานที่ดำเนินการ นักเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ครูและบุคลากรสนับสนุนในโรงเรียนบ้านลำแพะ จำนวน ๙๓ คน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 93
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 93
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมโภชนาการนักเรียนและปลุกฝังนิสัยพอเพียง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1536-2-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เงินรายได้สถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำแพะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด