กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพชะลอชรา ชีวายืนยาวปี 2566
รหัสโครงการ 66-L7575-01-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รักษาการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลตะโหมด
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 8,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกชพรรณ กาฬพันลึก
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุ
  • ชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพด้านสุขภาพ ร้อยละ 80
0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจและอยู่ดีมีสุข
  • ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้รับการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและจัดทำแผนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Plan) ร้อยละ 40
0.00
3 เพื่อพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนแบบบูรณาการ

ผู้สูงอายุมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 8,100.00 0 0.00
1 - 15 ก.พ. 66 1.ขั้นเตรียม 0 0.00 -
15 ก.พ. 66 - 15 ก.ย. 66 2.ขั้นดำเนินงาน 0 8,100.00 -
15 ส.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 3.ขั้นสรุปผล 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลตามแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)
  2. ผู้สูงอายุได้รับองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และการดูแลสุขภาพตนเอง ในชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียนผู้สูงอายุ/ชุมชน
  3. มีเมือง/ ชุมชน ที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age-friendly Communities)
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ม.ค. 2566 16:00 น.