กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2566 ”

ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3321-1-05 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3321-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก สำรวจพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวาน 171 ล้านคน และทำนายว่า อีก 30 ปี จะมีผู้ป่วยเบาหวาน 366 ล้านคน เวลาผ่านไปไม่ถึง 30 ปี กลับพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวาน 171 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 2.8 ของประชากรทั่วโลก ปัจจุบัน ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน 4 ล้านคนต่อปี หรือเฉลี่ย 8 วินาทีต่อ 1 คน หรืออาจพูดได้ว่าทุกๆ 8 วินาทีจะมีผู้ป่วยเบาหวานตาย 1 คน

สถานการณ์ประเทศไทยตอนนี้มีผู้ป่วยเบาหวานอยู่ราว 5 ล้านคน หรือเปรียบเทียบ ได้ว่า 1 ใน 11 คนไทยที่อายุ 15 ปีขึ้นไป กำลังป่วยด้วยโรคเบาหวาน และมีอัตราเพิ่มขึ้นประมาณหนึ่งแสนคนต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้ มีถึง 40% ที่ไม่รู้ว่าตัวเองป่วย ขณะที่ผู้ได้รับการวินิจฉัยและดูแลรักษามีเพียง 54.1% หรือเพียง 2.6 ล้านคน ในจำนวนนี้มีเพียง 1 ใน 3 คน ที่สามารถบรรลุเป้าหมายในการรักษา ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน ที่น่าเป็นห่วงมากสำหรับประเทศไทย คือ ความชุกของเบาหวานที่เกิดจากปัญหาโรคอ้วนและพฤติกรรมการใช้ชีวิตในเด็กวัยรุ่นและวัยหนุ่มสาวเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มที่สูงขึ้น ซึ่งกลุ่มนี้เป็นคนวัยทำงานและเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จังหวัดพัทลุงมีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95อำเภอควนขนุนมีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และมีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2560 – 2565ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 30,19024,69923,331 22,52 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถิติการเกิดโรคเบาหวานของประชากรกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไป รพ.สต.ปันแตตำบลปันแตอำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุงปี ๒๕65คัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปดำเนินการคัดกรอง จำนวน 2,234 คนพบ ปกติ จำนวน 1,649คน คิดเป็นร้อยละ 73.81 พบว่า กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน495 คน คิดเป็น ร้อยละ 22.16และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 89คน คิดเป็นร้อยละ 3.98และพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ในปี 2562-2565จำนวน 471.09,325.04,356.97, 567.26 อัตราต่อแสน
ซึ่งจากการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานในแต่ละปีพบผู้ป่วยรายใหม่ทุกปีการที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน
  2. เพื่อติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผล FPG ลดล
  3. เพื่อติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม
  4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน โดยการตรวจตา ไต เท้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการคัดกรองโรคเรื้อรัง
  2. กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
  3. กิจกรรมติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
  4. กิจกรรมกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
  5. กิจกรรมการคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
  6. กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
  7. กิจกรรมติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
  8. กิจกรรมกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน โดยการตรวจตา ไต เท้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 343
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่
  2. ลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
  3. ลดอัตราการตายด้วยโรคเบาหวาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุม อสม.เพื่อจัดทำแผนการออกคัดกรองโรคเบาหวานแบบเชิงรุก
  2. จัดทำแผนการออกคัดกรองโรค
  3. ออกคัดกรองโรคเบาหวานแบบเชิงรุก ตาม วัน เวลา ดังกล่าว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1.ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี  ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2,363 คน คัดกรองได้จำนวน  2,236 คน      คิดเป็นร้อยละ    94.63 ปกติ            จำนวน      1,699 คน    คิดเป็น ร้อยละ  75.98 เสี่ยง            จำนวน        463 คน  คิดเป็นร้อยละ    20.71 สงสัยป่วย      จำนวน          74 คน    คิดเป็นร้อยละ    3.31 ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน  21 ราย อัตราป่วย 343.53 ต่อแสนประชากร                 - ผลลัพธ์  กลุ่มเป้าหมายรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเองและสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

 

2,400 0

2. กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง
  2. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. เจาะ FPG ในกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับน้ำตาลตั้งแต่ 100 ขึ้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผลผลิต  1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบที่มีภาวะเสี่ยงจากการคัดกรองโรคเบาหวาน  จำนวน  489  คน  ได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ (FPG)    จำนวน  475  คน คิดเป็นร้อยละ 97.14 -ผลลัพธ์  ระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

492 0

3. กิจกรรมกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน โดยการตรวจตา ไต เท้า

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำแผนการตรวจภาวะภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน  โดยการตรวจตา  ไต  เท้า
  2. ปฏิบัติงานตามแผน ตาม วัน เวลา ดังกล่าว
  3. นัดผู้ป่วยเบาหวาน เข้ารับบริการ ตาม วัน เวลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต
    1.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ไต เท้า
    ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน  354  คน ได้รับการดรับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า  จำนวน  315  คน คิดเป็นร้อยละ 88.98 2.ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน  354  คน ได้รับการดรับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา  จำนวน  275  คน คิดเป็นร้อยละ 77.68 ผลลัพธ์  ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่

    • ผลลัพธ์  ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่

 

0 0

4. กิจกรรมติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับ อสม. ร่วมจัดทำแผนการติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
  2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับ อสม. ออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังตามแผนปฏิบัติงาน
  3. สรุปผลการเยี่ยมติดตามเยี่ยม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต  ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม                 - ผลลัพธ์ 1.ผู้ป่วยได้รับยาและกินยาอย่างต่อเนื่องทุกราย    2.ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนรายใหม่

 

343 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน
90.00

 

2 เพื่อติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผล FPG ลดล
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานมารับการเจาะ FBSหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม FBG ลดลงประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
60.00

 

3 เพื่อติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยได้รับยาและกินยาอย่างต่อเนื่องทุกรายไม่เกิดโรคแทรกซ้อนรายใหม่ ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง
100.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน โดยการตรวจตา ไต เท้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ไต เท้า ประมวลผลจากฐานข้อมูล HDC On Cloud สสจ.พัทลุง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2743
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 343
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน (2) เพื่อติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผล FPG ลดล (3) เพื่อติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม (4) เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน  โดยการตรวจตา  ไต  เท้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการคัดกรองโรคเรื้อรัง (2) กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง (4) กิจกรรมกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน (5) กิจกรรมการคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (6) กิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (7) กิจกรรมติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง (8) กิจกรรมกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน  โดยการตรวจตา  ไต  เท้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3321-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด