กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรวรรณ คำคง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3329-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3329-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,752.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง โดยในพื้นที่หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 10 ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ 1 มกราคม - 30 กันยายน 2565
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา ที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุมและป้องกันโรค ด้านการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำได้โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย เช่น เทศบาลตำบลควนเสาธง โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เจ้าหน้าที่ อสม. ตลอดจนประชาชนและนอกจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายแล้ว ความต่อเนื่องและสม่ำเสมอของการ ปฏิบัติงานก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะทำให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกเกิดระสิทธิภาพมากที่สุด ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปลักปอม จึงจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย กำจัดตัวแก่ยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก เพื่อนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนตลอดจนถึงควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และกำจัดตัวแก่ยุงลาย 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. โรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI = 0) 5. ในชุมชนมีค่า HI ไม่เกิน 10

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างต่อเนื่องและทันเวลา
    2. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
    3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสมเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก ๔. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์และภาชะเสี่ยง ในชุมชน โรงเรียน และวัด ที่เป็นแหล่งโรค เพื่อประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้แก่ประชาชนสร้างความตระหนักต่อการป้องกันโรคไข้เลือดออก และเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือด
    กิจกรรมที่ดำเนินงานมีดังนี้ 1. มีการพ่นหมอกควันในโรงเรียนวัดปลักปอม จำนวน 4 ครั้ง โดยพ่นก่อนโรงเรียนเปิดเทอมละ 2 ครั้ง
    2.รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมเก็บขยะจำนวน 3 ครั้ง และให้ความรู้แก่ประชาชนในหมู่บ้านมีรถประชาสัมพันธ์ (ขอสนัยสนุนรถประชาสัมพันธื จาก สสอ.ตะโหมด และ ทต.ควนเสาธง) 3. พ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 1 ราย จำนวน 3 ครั้ง 4. ผลการรณรงค์ครั้งที่ 1 หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 10 ต.แม่ขรี ค่า HI = 7.44 % โดยสำรวจลูกน้ำยุงลายจำนวน 376 หลังคาเรื่อน พบลูกน้ำ 28 หลังคาเรือน 5. ผลการรงค์ครั้งที่ 1 หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 10 ต.แม่ขรี ค่า CI = 4.8 % โดยสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1,875 ภาชนะ พบลูกน้ำ 90 ภาชนะ 6.ผลการรณรงค์ครั้งที่ 2 หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 10 ต.แม่ขรี ค่า HI = 6.38% โดยสำรวจลูกน้ำยุงลายจำนวน 376 หลังคาเรื่อน พบลูกน้ำ 24 หลังคาเรือน 7.ผลการรรรงค์ครั้งที่ 2 หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 10 ต.แม่ขรี ค่า CI = 4.70 % โดยสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1,744 ภาชนะ พบลูกน้ำ 82 ภาชนะ 8.ผลการรณรงค์ครั้งที่ 3 หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 10 ต.แม่ขรี ค่า HI = 5.85% โดยสำรวจลูกน้ำยุงลายจำนวน 376 หลังคาเรือน พบลูกน้ำ 22 หลังคาเรือน 9. ผลการรณรงค์ครั้งที่ 3 หมู่ที่ 5 และ หมู่ที่ 10 ต.แม่ขรี ค่า CI = 4.22% โดยสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1,868 ภาชนะ พบลูกน้ำ 79 ภาชนะ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และกำจัดตัวแก่ยุงลาย 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. โรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI = 0) 5. ในชุมชนมีค่า HI ไม่เกิน 10
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และกำจัดตัวแก่ยุงลาย 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. โรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI = 0) 5. ในชุมชนมีค่า HI ไม่เกิน 10

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 66-L3329-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาววรวรรณ คำคง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด