กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางปาริชาติ ขุนจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3329-2-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3329-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,426.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เล็งเห็นถึงความสำคัญว่าวัคซีนเป็นเครื่องมือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพสูง จึงได้นำวัคซีนที่มีคุณภาพและเหมาะสมสำหรับประเทศ มาบรรจุในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้บริการแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมายาวนานมากกว่า 30 ปีแล้ว โดยมีนโยบายด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่สำคัญคือ การให้บริการวัคซีนป้องกันโรคที่มีความจำเป็นครอบคลุมจำนวนโรคให้มากที่สุด ให้ครอบคลุม ประชากรกลุ่มเป้าหมายสูงที่สุด ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน จัดให้มีการให้บริการวัคซีนในทุกระดับของสถานบริการ วัคซีนที่ใช้ต้องมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคสูงและต้องมีความปลอดภัย และให้บริการโดยไม่คิดมูลค่าแม้ว่าวัคซีนจะไม่ใช่ยารักษาโรค แต่วัคซีนก็เป็นเครื่องมือป้องกันที่ช่วยให้เด็กๆปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการป้องกันเด็กจากโรคบางอย่าง ความเสี่ยงจากโรคเหล่านั้นมากมายหลายเท่า เพื่อให้ได้รับภูมิต้านทานที่ครบถ้วนเด็กจะต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุทั้งหมดและควรได้รับตรงเวลาอีกด้วย
จากการเล็งเห็นปัญหาที่พบในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านมาบและควนไทร พบว่า ยังมีเด็กจำนวนไม่น้อยที่ไม่ยอมรับวัคซีน หรือรับล่าช้า ซึ่งอาจจะส่งผลต่อเด็กได้ในอนาคต ซึ่งสาเหตุเกิดจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญของวัคซีน หรือกลัวลูกเจ็บไข้ได้ป่วยหลังรับวัคซีน จึงไม่นำเด็กมารับบริการฉีดวัคซีน เด็กติดตามพ่อแม่ไปทำงานที่อื่น กลับมาในพื้นที่ไม่ได้นำมาฉีดตามนัด ความเชื่อที่ผิดในบางกลุ่มเรื่องการฉีกวัคซีน ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน เพื่อแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดจึงจะต้องทำให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น อีกทั้งเพื่อค้นหาและนำเด็กที่รับบริการวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดมารับบริการให้ครบ เจริญเติบโตไปเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพ สุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก / ผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามเกณฑ์ / อันตรายจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    2. องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา สมาชิกชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 4 ศูนย์สุขภาพชุมชนควนเสาธง สมาชิกในหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนควนเสาธง เจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความครอบคลุมของวัตซีนเด็ก 0-5 ปี
    3. เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 90
    4. เด็กที่ไม่ยอมรับวัคซีน / รับล่าช้า ได้กลับมารับวัคซีนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • ผู้เข้าร่วมประชุมให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมและแสดงความคิดเห็นเป้นอย่างดี
    • ผู้เข้าร่วมประชุมมีความสัมพันธืกับเด็ก 0-5 ปีในเขตเทศบาลตำบลควนเสาธง พบว่า อยู่ในสภาพเป้นมารดา/บิดา ร้อยละ 90.9 (50 คน) ปู่/ยา ร้อยละ 3.63 (2 คน) ตา/ยาย ร้อยละ 1.84 (1 คน) ลุง/ป้า ร้อยละ 3.63 (2 คน)
    • ผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจในภาพรวมของการอบรมครั้งนี้อยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 96.36 และอยู่ใน ระดับมาก ร้อยละ 3.64
    • ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100
      • ก่อนเข้าร่วมโครงการ พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยที่ 7.0 คะแนน
      • หลังดำเนินโครงการ พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยที่ 8.20 คะแนน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก / ผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 55
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 55
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก / ผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยสุขภาพดีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 66-L3329-2-27

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปาริชาติ ขุนจันทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด