โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค
หัวหน้าโครงการ
นางเฝาสี่ย๊ะ หลีขาหรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค
เมษายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5177-03-02 เลขที่ข้อตกลง 7/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค รหัสโครงการ 66-L5177-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,355.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล เป็นกิจกรรมทางกายชนิดหนึ่งประเภทเกม ที่สามารถส่งเสริมในด้านร่างกายให้มีร่างกายที่แข็งแรง สร้างจิตใจให้มีความผ่อนคลาย สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ และยังรู้จักแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที การละเล่นพื้นบ้านเป็นกิจกรรมที่ยอมรับร่วมกันในสังคมว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งจึงมีคุณค่าและมีส่วนสำคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรม
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแคจึงเล็งเห็นความสำคัญ จึงจัดโครงการ ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในเด็กปฐมวัย อายุ 2 - 5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นฐานขึ้นในครั้งนี้ เพื่อให้เด็กได้รู้จักกีฬาพื้้นบ้านของไทย และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกายอารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา เหมาะสมตามวัย ร่วมไปการออกกำลังกายของผู้ปกครองที่เพียงพออีกด้วย จึงมีคุณค่าและมีส่วนสำคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรมโดยเฉพาะกับเด็กเล็ก ร่วมไปถึงความสามัคคืของผู้ปกครอง ทั้งเป็นการเชื่อมโยงประสบการณ์ทางสังคมให้กับเด็ก ทำให้เด็ก และผู้ปกครองประสบความสำเร็จในการเล่นจนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เห็นคุณค่าของตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก รู้จักปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข อีกทั้งยังช่วยให้เรียนรู้ด้วยการรอคอย การช่วยเหลือ การแบ่งปัน และการเป็นผู้นำ ผู้ตาม สิ่งเหล่านี้เป็นผลที่จะเกิดโดยตรงจากการละเล่นส่งผลต่อสุขภาพจิตและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ ที่ต้องเสริมสร้างพัฒนาการให้พร้อมในการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ในระดับสูงขึ้นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้าน และฟุตบอล
- พื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อมรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง
- ชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด
- เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือ ชักเย่อ ปิดตาตีปี๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
4
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กได้รู้จักชนิดของการละเล่นพื้นบ้าน
- เด็ก และผู้ปกครองมีกิจกรรมทางกายได้อย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 60 นาที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อมรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ จำนวน 46 คน และผู้ปกครองได้รับความรู้จากโครงการ จำนวน 46 คน
0
0
2. ชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เด็ก และผู้ปกครอง ได้รับการชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด จำนวน 46 คน และผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด จำนวน 46 คน
0
0
3. เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือ ชักเย่อ ปิดตาตีปี๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล
วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือชักเย่อ ปิดดาตีปิ๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือชักเย่อ ปิดดาตีปิ๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล จำนวน 46 คน
และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือชักเย่อ ปิดดาตีปิ๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล จำนวน 46 คน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้าน และฟุตบอล
ตัวชี้วัด : ร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้านเพิ่มขึ้น และฟุตบอล
50.00
90.00
2
พื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)เพิ่มขึ้น
40.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
46
46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
4
4
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้าน และฟุตบอล (2) พื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อมรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง (2) ชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด (3) เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือ ชักเย่อ ปิดตาตีปี๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5177-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเฝาสี่ย๊ะ หลีขาหรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล ”
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค
หัวหน้าโครงการ
นางเฝาสี่ย๊ะ หลีขาหรี
เมษายน 2566
ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5177-03-02 เลขที่ข้อตกลง 7/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค รหัสโครงการ 66-L5177-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,355.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แค เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล เป็นกิจกรรมทางกายชนิดหนึ่งประเภทเกม ที่สามารถส่งเสริมในด้านร่างกายให้มีร่างกายที่แข็งแรง สร้างจิตใจให้มีความผ่อนคลาย สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ และยังรู้จักแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที การละเล่นพื้นบ้านเป็นกิจกรรมที่ยอมรับร่วมกันในสังคมว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งจึงมีคุณค่าและมีส่วนสำคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรม
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแคจึงเล็งเห็นความสำคัญ จึงจัดโครงการ ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในเด็กปฐมวัย อายุ 2 - 5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นฐานขึ้นในครั้งนี้ เพื่อให้เด็กได้รู้จักกีฬาพื้้นบ้านของไทย และช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกายอารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา เหมาะสมตามวัย ร่วมไปการออกกำลังกายของผู้ปกครองที่เพียงพออีกด้วย จึงมีคุณค่าและมีส่วนสำคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรมโดยเฉพาะกับเด็กเล็ก ร่วมไปถึงความสามัคคืของผู้ปกครอง ทั้งเป็นการเชื่อมโยงประสบการณ์ทางสังคมให้กับเด็ก ทำให้เด็ก และผู้ปกครองประสบความสำเร็จในการเล่นจนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เห็นคุณค่าของตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก รู้จักปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข อีกทั้งยังช่วยให้เรียนรู้ด้วยการรอคอย การช่วยเหลือ การแบ่งปัน และการเป็นผู้นำ ผู้ตาม สิ่งเหล่านี้เป็นผลที่จะเกิดโดยตรงจากการละเล่นส่งผลต่อสุขภาพจิตและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยนี้ ที่ต้องเสริมสร้างพัฒนาการให้พร้อมในการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ในระดับสูงขึ้นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้าน และฟุตบอล
- พื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อมรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง
- ชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด
- เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือ ชักเย่อ ปิดตาตีปี๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 46 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 4 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กได้รู้จักชนิดของการละเล่นพื้นบ้าน
- เด็ก และผู้ปกครองมีกิจกรรมทางกายได้อย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 60 นาที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อมรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ จำนวน 46 คน และผู้ปกครองได้รับความรู้จากโครงการ จำนวน 46 คน
|
0 | 0 |
2. ชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเด็ก และผู้ปกครอง ได้รับการชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด จำนวน 46 คน และผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด จำนวน 46 คน
|
0 | 0 |
3. เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือ ชักเย่อ ปิดตาตีปี๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือชักเย่อ ปิดดาตีปิ๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือชักเย่อ ปิดดาตีปิ๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล จำนวน 46 คน และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือชักเย่อ ปิดดาตีปิ๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล จำนวน 46 คน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้าน และฟุตบอล ตัวชี้วัด : ร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้านเพิ่มขึ้น และฟุตบอล |
50.00 | 90.00 |
|
|
2 | พื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)เพิ่มขึ้น |
40.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 46 | 46 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 4 | 4 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มร้อยละจำนวนเด็กที่รู้จักชนิดของกีฬาพื้นบ้าน และฟุตบอล (2) พื่อเพิ่มร้อยละของเด็ก และผู้ปกครองที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อมรมชี้แจงโครงการเชิงปฏิบัติการ ให้กับเด็ก และผู้ปกครอง (2) ชี้แจง พร้อมสาธิตเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านแต่ละชนิด (3) เด็ก และผู้ปกครองเล่นกีฬาพื้นบ้าน 5 ชนิด คือ ชักเย่อ ปิดตาตีปี๊บ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย วิ่งเปรี้ยว และฟุตบอล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบ และผู้ปกครอง โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน และฟุตบอล จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5177-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเฝาสี่ย๊ะ หลีขาหรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......