กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงดาลอ


“ ส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ ”

หมู่ที่ 4 ตำบลตันหยงดาลอ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดซาอูดี แวดราแม

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลตันหยงดาลอ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3041-02-003 เลขที่ข้อตกลง 002/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 ตำบลตันหยงดาลอ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงดาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 ตำบลตันหยงดาลอ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3041-02-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,335.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงดาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียน เป็นกลุ่มที่มีความสำคัญมากต่อการสร้างรากฐานให้มั่นคงต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพได้นั้น จะต้องได้รับการเลี้ยงดูและส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับวัย เมื่อสุขภาพดีจะส่งผลต่อการเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ดังนั้น โรงเรียนจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของเด็กทั้งด้านองค์ความรู้จากการเรียนการสอน รวมทั้งการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก เด็กวัยเรียนมีการเปลี่ยนแปลงตนเองอยู่ตลอดเวลา ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในเด็กวัยนี้มากที่สุด คือ วิธีปฏิบัติตนในการป้องกันตนเองจากโรคที่อาจทำให้เด็กมีสุขภาพกายใจที่ไม่พร้อมต่อการเรียนรู้ โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กวัยเรียน ระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากการไม่รักษาความสะอาดของศีรษะ เครื่องนอน เป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปและยังทำให้สุขภาพไม่ดี ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศีรษะ การรักษาโรคเหาส่วนใหญ่มักจะให้สารเคมี ซึ่งเมื่อใช้แล้วอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ และจากการตรวจสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านยือริง พบว่า เด็กเรียนหญิงส่วนใหญ่เป็นโรคเหา ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนบ้านยือริง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมากำจัดเหาในเด็กวัยเรียน โดยขอความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงดาลอ มาให้ความรู้ด้านสุขอนามัยและการกำจัดเหาแก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครอง เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยและสามารถดูแลรักษาความสะอาดของตนเองได้
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กวัยเรียน
  3. เพื่อนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และภาคภูมิใจในตนเอง
  4. เพื่อให้ผู้ปกครอง และบุคลากรโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยเด็กและการกำจัดเหาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ด้านสุขอนามัย การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง
  2. สาธิตการทำและการใช้แชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติในการกำจัดเหา
  3. ติดตาม และประเมินผลโรคเหาในเด็กนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี สามารถดูแลรักษาความสะอาดของตนเองได้
  2. อัตราการเกิดเหาในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านยือริงลดลง
  3. เด็กนักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้นเนื่องจากมีสมาธิมากขึ้นไม่ต้องเกาหัวตลอดเวลา
  4. นักเรียนและผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรกำจัดเหา
  5. นักเรียนและผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยเด็กและการกำจัดเหาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้ด้านสุขอนามัย การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการให้ความรู้ด้านสุขอนามัย การปฏิบัติตนที่ถูกต้องแก่นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ด้านสุขอนามัย การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง

 

0 0

2. สาธิตการทำและการใช้แชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติในการกำจัดเหา

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • สาธิตการทำแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติในการกำจัดเหา
  • ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายใช้แชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติในการกำจัดเหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแชมพูสมุนไพรกำจัดเหา
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้วิธีการทำแชมพู และการกำจัดเหาที่ถูกต้อง

 

0 0

3. ติดตาม และประเมินผลโรคเหาในเด็กนักเรียน

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการติดตามนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในการเกิดโรคเหา โดยใช้แชมพูสมุนจากธรรมชาติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 100 ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีอัตราการเกิดเหาลดลง นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี สามารถดูแลรักษาความสะอาดของตนเองได้ นักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้น เนื่องจากมีสมาธิมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยและสามารถดูแลรักษาความสะอาดของตนเองได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และภาคภูมิใจในตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครอง และบุคลากรโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยเด็กและการกำจัดเหาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 115
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยและสามารถดูแลรักษาความสะอาดของตนเองได้ (2) เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กวัยเรียน (3) เพื่อนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และภาคภูมิใจในตนเอง (4) เพื่อให้ผู้ปกครอง และบุคลากรโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัยเด็กและการกำจัดเหาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ด้านสุขอนามัย การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง (2) สาธิตการทำและการใช้แชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติในการกำจัดเหา (3) ติดตาม และประเมินผลโรคเหาในเด็กนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขอนามัยและกำจัดเหาในเด็กวัยเรียนด้วยแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3041-02-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮำหมัดซาอูดี แวดราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด