กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการชุมชควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน) ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายชาฝีอี หลีมานัน

ชื่อโครงการ โครงการชุมชควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน)

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5284-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากการคัดกรองความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ใน หมู่ที่ 5 -10 ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในช่วงไตรมาส ในช่วงย้อนหลัง 3 ปีที่ผ่าน พบว่า ปี 2563 มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 114 ราย(ร้อยละ 6.87) กลุ่มสงสัยป่วย 25 ราย(ร้อยละ 1.19) ผู้ป่วยรายใหม่ 16 ราย(ร้อยละ 11.51 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย)มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 109 ราย(ร้อยละ 6.37) สงสัยป่วย 63 ราย(ร้อยละ 3.68) ผู้ป่วยรายใหม่ 24 ราย(ร้อยละ 13.95 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย) ผู้ป่วยสะสม 623 ราย(ร้อยละ 11.92 ของประชากรทั้งหมด) ,ปี 2564 มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 191 ราย(ร้อยละ 16.39) กลุ่มสงสัยป่วย 27 ราย(ร้อยละ 1.88) ผู้ป่วยรายใหม่ 21 ราย(ร้อยละ 9.63 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย) มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 177 ราย(ร้อยละ 11.30) สงสัยป่วย 159 ราย(ร้อยละ 10.15) ผู้ป่วยรายใหม่ 57 ราย(ร้อยละ 7.34 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย) ผู้ป่วยสะสม 664 ราย(ร้อยละ 12.58 ของประชากรทั้งหมด) และ ปี 2565มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 114 ราย(ร้อยละ 5.84) กลุ่มสงสัยป่วย 15 ราย(ร้อยละ 0.77) ผู้ป่วยรายใหม่ 13 ราย(ร้อยละ 10.08 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย)มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 111 ราย(ร้อยละ 5.68) สงสัยป่วย 68 ราย(ร้อยละ 3.48) ผู้ป่วยรายใหม่ 17 ราย(ร้อยละ 9.50 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย) ผู้ป่วยสะสม 661 ราย(ร้อยละ 12.54 ของประชากรทั้งหมด) การคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชน เป็นการค้นหา เฝ้าระวังป้องกันโรค ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไขมัน เป็นต้น รวมทั้งเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังเบื้องต้น จากข้อมูลการคัดกรองและผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น พบว่ามีแนวโน้มว่าจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ถ้าไม่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพและได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมตั้งแต่เริ่มแรก เช่น หากคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงแล้วพบว่า อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ก็จะสามารถป้องกันการป่วย เป็นโรคหรือลดระดับการรุนแรงของโรคดังกล่าวให้ลดลงได้ด้วยการปรับหรือเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็น โรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยส่วนใหญ่ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีสาเหตุหลักๆ มาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องสะสมเป็นเวลานาน นั่นก็คือ พฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร ด้านการออกกกำลังกาย ด้านการพักผ่อนให้เพียงพอ การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอลล์ หรือตามหลัก 3 อ. 2 ส. นั่นเอง หากประชาชนทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง หรือคนที่เป็นโรคแล้ว ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นได้ ก็จะส่งผลต่อการเกิดโรค การเพิ่มความรุนแรงของโรคที่เป็นอยู่ และเพิ่มความเสี่ยงด้านอื่น ๆ ที่ตามมา เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง เกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวานขึ้นตาภาวะปลายประสาทอักเสบ แผลเบาหวานที่เท้า การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อราที่ผิวหนัง อาการคัน และปัญหาอื่น ๆ ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ มีเจตนารมณ์ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีขึ้น โดยอาศัยการมีส่วนร่วมและความร่วมมือของคนในครอบครัวและชุมชน ด้วยการชักชวนกันมาออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีกิจกรรมสันทนาการผ่อนคลาย อารมณ์ ไม่เครียด รวมทั้งให้กำลังใจแก่ผู้ที่อดบุหรี่ หรือ ลด งดดื่มสุรา เป็นต้น และการส่งเสริมสนับสนุน ให้มี อสม. ต้นแบบ และองค์กร อสม. ต้นแบบในการสร้างสุขภาพเพื่อเป็นต้นแบบที่ดีให้แก่ประชาชน ในชุมชนต่อไปชมรม อสม.รพ.ควนโดน จึงได้จัดทำโครงการชุมชนควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง/ป่วยจากการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปต่อโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชุมชนควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) ปีงบประมาณ 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 760
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับความรู้และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น 2. เกิดความร่วมมือของภาคีเครือข่ายที่หลากหลายในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืน 3. เกิด ชุมชน/หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง/ป่วยจากการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปต่อโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ - ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 760
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 760
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง/ป่วยจากการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปต่อโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชุมชนควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) ปีงบประมาณ 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชควนสตอร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน) จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาฝีอี หลีมานัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด