กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ โครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟารีด๊ะ รอแม

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8413-2-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 พฤษภาคม 2566 ถึง 8 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8413-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 พฤษภาคม 2566 - 8 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,440.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ การส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายและพัฒนาการด้านต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพ ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ดี ส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตดี ร่างกายแข็งแรง สติปัญญาดี มีความสามารถในการเรียนรู้ อาหารช่วยส่งเสริมให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่อมแชมส่วนที่ซึกหรอของร่างกาย การกินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ คืออาหารที่ดี มีประโยชน์ สะอาด ปลอดภัย และมีปริมาณเพียงพอโดยคำนึงถึงคุณค่าของอาหาร ตลอดจนปัญหาสุขภาพ อันเนื่องมาจากการขาดสารอาหาร หากบุคคลใดได้รับอาหารไม่เพียงพอและเหมาะสม จะทำให้สุขภาพร่างกายไม่ดี ทุพโภชณาการ หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารผิดเบี่ยงเบนไปจากปกติ อาจเกิดจากได้รับสารอาหารน้อยกว่าปกติ หรือเหตุทุติยภูมิ คือ เหตุเนื่องจากความบกพร่องต่างๆจากการกิน การย่อย การดูดซึม ในระยะ 2-3 ปีแรกของชีวิต จะมีผลกระทบต่อระดับสติปัญหาและการเรียนภายหลัง เนื่องจากเป็นระยะที่มีการเจริญติบโตของสมองสูงสุด เมื่ออายุ 3ปี มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตถึงร้อยละ 80 สำหรับผลกระทบทางร่างกายภายนอกที่มองเห็นได้ คือ เด็กมีรูปร่างเตี้ย เล็ก ซูบผอม ผิวหนังเหี่ยวย่น เนื่องจากขาดไขมันชั้นผิวหนัง นอกจากการขาดสารอาหารแล้วการได้รับสารอาหารเกินในรายที่อ้วน ก็ถือเป็นภาวะทุพโภชณาการ เป็นการได้รับอาหารมากเกินความต้องการ พลังงานที่มีมากนั้นไม่ได้ใช้ไป พลังงานส่วนเกินเหล่านั้น ก็จะแปลงไปเป็นคลอเรสเตอรอล เกาะจับแน่นอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และอาจลุกลามเข้าสู่เส้นเลือด ผลที่ตามมาก็คือ โรคอ้วน โรคเบาหวาน โคหัวใจ และโรคต่าง ๆ ปัจจุบันเด็กนักเรียนในโรงเรียนอนุบาลตำบลบาลอ ส่วนมากมีผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือการกรีดยาง ซึ่งต้องทำงานตั้งแต่กลางคืนจนถึงกลางวัน โดยเฉพาะในช่วงเช้าที่ต้องส่งลูกไปโรงเรียนมักเป็นเวลาที่ผู้ปกครองยังอยู่ในสวน ทำให้การเอาใจใส่ลูกเรื่องการกินอาหารเช้าไม่ค่อยสมบูรณ์ เด็กส่วนมากไม่ได้รับอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียน ทำให้ขาดการเตรียมพร้อมสำหรับเด็กเท่าที่ควรได้รับสารอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้าซึ่งเป็นมื้อสำคัญสำหรับเด็กกำลังเจริญเติบโต เป็นภาวะเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการในเด็ก และการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กเป็นไปอย่างล่าช้าจากข้อมูลปัญหาโภชนาการเด็กในสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลตำบลบาลอ ของเด็กนักเรียนช่วงอายุ 3-6 ปี และช่วงอายุ 7-10 ปี จำนวน 150 คน พบว่าเด็กเหล่านี้มีปัญหาการเจริญเติบโตไม่ตามเกณฑ์กรมอนามัย จำนวน 64 คน ( ผอม/เตี้ย/อ้วน ) โรงเรียนอนุบาลตำบลบาลอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา เพื่อให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในสถานศึกษา
  2. เด็กในโรงเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การระดมความคิด เพื่อการเข้าถึงอาหารและแก้ปัญหาภาวะโภชณาการของเด็กนักเรียน
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน และการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง การแก้ปัญหาภาวะพัฒนาการเด็ก
  3. การจัดอาหารเสริม นม ไข่และถั่ว เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเด็กมีภาวะผอม เตี้ย อ้วน
  4. การติดตาม และประเมินผล
  5. การส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน โรงเรียนเพื่อพัฒนาการกล้ามเนื้อ 15 นาที
  6. ประชุมคณะครูระดมความคิดเห็นกับหน่วยงานกองสาธารณสุขเทศบาลตำบลบาลอ
  7. ออกแบบและบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนช่วงชั้นอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 3
  8. เสนอโครงการขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบาลอ
  9. บันทึกข้อมูลการเจริญเติบโตของนักเรียนประจำปีการศึกษา 2566 และวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการ
  10. ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน และการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง การแก้ปัญหาภาวะพัฒนาการเด็ก
  11. การจัดอาหารเสริม นม ไข่และถั่ว เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเด็กมีภาวะผอม เตี้ย อ้วน
  12. ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน - การชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง - การบันทึกข้อมูลด้านโภชนาการของเด็กเตี้ยเด็กผอม ให้กับผู้ปกครอง สร้างความรู้ ความเข้าใจการเลี้ยงดู
  13. ประชุมนำเสนอความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานของโครงการ
  14. การส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน โรงเรียนเพื่อพัฒนาการกล้ามเนื้อ 15 นาที

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 59
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในสถานศึกษา
  2. เด็กในโรงเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ปัญหาภาวะโภชณาการในเด็ก ลดลง

 

2 เด็กในโรงเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน อายุ 3- 10 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชณาการครอบคลุม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 59
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 59
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในสถานศึกษา (2) เด็กในโรงเรียนมีสุขภาพดี มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การระดมความคิด เพื่อการเข้าถึงอาหารและแก้ปัญหาภาวะโภชณาการของเด็กนักเรียน (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน และการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง การแก้ปัญหาภาวะพัฒนาการเด็ก (3) การจัดอาหารเสริม นม ไข่และถั่ว เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเด็กมีภาวะผอม เตี้ย อ้วน (4) การติดตาม และประเมินผล (5) การส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน โรงเรียนเพื่อพัฒนาการกล้ามเนื้อ 15 นาที (6) ประชุมคณะครูระดมความคิดเห็นกับหน่วยงานกองสาธารณสุขเทศบาลตำบลบาลอ (7) ออกแบบและบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนช่วงชั้นอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 3 (8) เสนอโครงการขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบาลอ (9) บันทึกข้อมูลการเจริญเติบโตของนักเรียนประจำปีการศึกษา 2566 และวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการ (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน และการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง การแก้ปัญหาภาวะพัฒนาการเด็ก (11) การจัดอาหารเสริม นม ไข่และถั่ว เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะเด็กมีภาวะผอม เตี้ย อ้วน (12) ติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน - การชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง - การบันทึกข้อมูลด้านโภชนาการของเด็กเตี้ยเด็กผอม ให้กับผู้ปกครอง สร้างความรู้ ความเข้าใจการเลี้ยงดู (13) ประชุมนำเสนอความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานของโครงการ (14) การส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน โรงเรียนเพื่อพัฒนาการกล้ามเนื้อ 15 นาที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการเด็กโต สมวัย ในสถานศึกษา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8413-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟารีด๊ะ รอแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด