โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุชาดา ยาหยาหมัน รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,069.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ได้เปิดดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2552 และประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 มาจนถึงปัจจุบัน ภายใต้วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการ มีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่
เพื่อให้กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ดำเนินงานมีความต่อเนื่อง ในปี 2566 ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และระเบียบของกองทุนฯ จึงจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการดำเนินงานของกองทุน ในทุกด้านให้มีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
- ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
- ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน
- ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าวัสดุสำนักงาน/ค่าถ่ายเอกสาร/ค่าไวนิล
- 2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง
- 3. ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน
- 4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง
- 5. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง
- 6. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการคณะทำงาน
- 7. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- 1.1 ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ A4, ปากกา, กระดาษปกฯลฯ)
- 1.2 ค่าถ่ายเอกสาร
- 1.3 ค่าไวนิล
- 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
- 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
- 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
- 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 1
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 2
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 3
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 4
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4
- 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
- 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
- 6.1 อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน
- 7.1 เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
19
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการดำเนินงาน
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯได้รับความรู้จากการเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ มาพัฒนากองทุนฯ ตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติงบประมาณโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 และเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนการเงินประจำปี 2566 ในวันจันทร์ ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลฉลุง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-อนุมัติงบประมาณโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
-อนุมัติแผนการเงินประจำปี 2566
19
0
2. 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
-ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่
โดยมีประธานชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง เป็นผู้นำเสนอโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณากลั่นกรอง โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 พร้อมแนะนำให้มีการปรับแก้ไขเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ต่อไป
6
0
3. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
วันที่ 9 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 ได้รับการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ เป็นเงินจำนวน 38,975 บาท
19
0
4. 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
-ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
โดยพิจารณาโครงการจำนวน 2 โครงการ คือ 1. โครงการส่งเสริมสุขอนามัย เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง และ 2. โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณากลั่นกรองโครงการทั้ง 2 โครงการฯ พร้อมแนะนำให้มีการปรับแก้ไขเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ต่อไป
6
0
5. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติ โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง และโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง พิจารณาอนุมัติงบประมาณโครงการทั้ง 2 โครงการดังนี้
1. โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง งบประมาณ 12,290 บาท
2. โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ งบประมาณ 18,430 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 30,720 บาท
19
0
6. 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
วันที่ 4 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
-ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
โดยพิจารณาโครงการจำนวน 4 โครงการ คือ 1. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด 2. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล 3. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม และ 4. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณากลั่นกรองโครงการทั้ง 4 โครงการฯ พร้อมแนะนำให้มีการปรับแก้ไขเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ต่อไป
6
0
7. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4
วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติ โครงการฯ จำนวน 4 โครงการ คือ 1. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด 2. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล 3. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม และ 4. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง พิจารณาอนุมัติงบประมาณโครงการทั้ง 4 โครงการ คือ
1. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด เป็นเงินจำนวน 48,750 บาท
2. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เป็นเงินจำนวน 39,900 บาท
3. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม เป็นเงินจำนวน 29,300 บาท
4. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เป็นเงินจำนวน 27,030 บาท
รวม 4 โครงการ เป็นเงิน 144.980 บาท
19
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : 1. แผนงานหรือโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์และได้รับการอนุมัติร้อยละ 100
100.00
100.00
กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง มีแผนงาน/โครงการ ประจำปี 2566 มีการพิจารณาโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ซึ่งได้รับการอนุมัติทั้ง 7 โครงการ ดังนี้
1) โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 เป็นเงิน 38,975 บาท
2) โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุงเป็นเงิน 12,290 บาท
3) โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดารุลญันนะห์ เป็นเงิน 18,430 บาท
4) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด เป็นเงิน 48,750 บาท
5) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เป็นเงิน 39,900 บาท
6) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม เป็นเงิน 29,300 บาท
7) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เป็นเงิน 27,030 บาท
2
ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพและมีวัสดุเพียงพอต่อการดำเนินงาน ร้อยละ100
100.00
100.00
กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการบริหารจัดการกองทุนฯ และมีการจัดทำรายงานของกองทุนฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3
ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : 1. หน่วยงาน/องค์กรต่างๆสามารถดำเนินงานได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ร้อยละ 100
100.00
100.00
กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการกำกับดูแลและตรวจสอบหน่วยงานหรือกลุ่มอองค์กรผู้ที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณ ดำเนินการไปตามแผนงานคณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
4
ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีการทำรายงานการรับ-จ่ายเงินกองทุนครบตามกำหนด
100.00
100.00
กองทุนระบบหลักหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการรายงาน การจัดทำสรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุนฯ พร้อมทั้งรับรองรายงานรับ-จ่าย และเงินคงเหลือ ของกองทุนฯ เป็นรายเดือน และรายไตรมาสตามที่กำหนดอย่างถูกต้อง และครบถ้วน
5
ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน
ตัวชี้วัด : 1. คณะกรรมการกองทุนฯ อนุกรรมการ คณะทำงาน ได้รับการอบรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
100.00
100.00
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน โดยใช้วาระแจ้งเพื่อทราบและวาระอื่นๆ แจ้งในที่ประชุมให้แก่คณะกรรมการทราบถึง อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนตามข้อ 16 แห่งประกาศฯ พ.ศ. 2561 กำหนดไว้ จำนวน 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองได้
6
ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
ตัวชี้วัด : 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯได้เข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
100.00
100.00
การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ ได้เข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางทำงานและทำความเข้าใจประกาศฯ กองทุนสุขภาพตำบล ฉบับ 2561 จำนวน 1 ครั้ง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
19
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
19
19
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (4) ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ (5) ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน (6) ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวัสดุสำนักงาน/ค่าถ่ายเอกสาร/ค่าไวนิล (2) 2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง (3) 3. ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน (4) 4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง (5) 5. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง (6) 6. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการคณะทำงาน (7) 7. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ (8) 1.1 ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ A4, ปากกา, กระดาษปกฯลฯ) (9) 1.2 ค่าถ่ายเอกสาร (10) 1.3 ค่าไวนิล (11) 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (12) 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (13) 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (14) 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 (15) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 1 (16) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 2 (17) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 3 (18) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 4 (19) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (20) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (21) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (22) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 (23) 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (24) 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (25) 6.1 อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน (26) 7.1 เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 ระยะเวลาโครงการ 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
หน่วยงาน/ชมรม มีการร่วมกลุ่มเพื่อจัดทำโครงการ
หลักฐานโครงการ
จัดทำโครงการต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุชาดา ยาหยาหมัน รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุชาดา ยาหยาหมัน รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,069.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ได้เปิดดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2552 และประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 มาจนถึงปัจจุบัน ภายใต้วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการ มีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่
เพื่อให้กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ดำเนินงานมีความต่อเนื่อง ในปี 2566 ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และระเบียบของกองทุนฯ จึงจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการดำเนินงานของกองทุน ในทุกด้านให้มีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
- ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
- ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน
- ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าวัสดุสำนักงาน/ค่าถ่ายเอกสาร/ค่าไวนิล
- 2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง
- 3. ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน
- 4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง
- 5. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง
- 6. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการคณะทำงาน
- 7. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- 1.1 ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ A4, ปากกา, กระดาษปกฯลฯ)
- 1.2 ค่าถ่ายเอกสาร
- 1.3 ค่าไวนิล
- 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
- 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
- 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
- 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 1
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 2
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 3
- 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 4
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3
- 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4
- 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1
- 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2
- 6.1 อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน
- 7.1 เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 19 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการดำเนินงาน
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯได้รับความรู้จากการเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ มาพัฒนากองทุนฯ ตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติงบประมาณโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 และเพื่อพิจารณาอนุมัติแผนการเงินประจำปี 2566 ในวันจันทร์ ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลฉลุง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-อนุมัติงบประมาณโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 -อนุมัติแผนการเงินประจำปี 2566
|
19 | 0 |
2. 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ-ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณากลั่นกรอง โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 พร้อมแนะนำให้มีการปรับแก้ไขเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ต่อไป
|
6 | 0 |
3. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 ได้รับการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ เป็นเงินจำนวน 38,975 บาท
|
19 | 0 |
4. 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ-ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 โดยพิจารณาโครงการจำนวน 2 โครงการ คือ 1. โครงการส่งเสริมสุขอนามัย เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง และ 2. โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณากลั่นกรองโครงการทั้ง 2 โครงการฯ พร้อมแนะนำให้มีการปรับแก้ไขเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ต่อไป
|
6 | 0 |
5. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติ โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง และโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง พิจารณาอนุมัติงบประมาณโครงการทั้ง 2 โครงการดังนี้
1. โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุง งบประมาณ 12,290 บาท
2. โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ งบประมาณ 18,430 บาท
|
19 | 0 |
6. 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 4 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ-ดำเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 โดยพิจารณาโครงการจำนวน 4 โครงการ คือ 1. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด 2. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล 3. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม และ 4. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณากลั่นกรองโครงการทั้ง 4 โครงการฯ พร้อมแนะนำให้มีการปรับแก้ไขเพื่อเข้าสู่กระบวนการพิจารณางบประมาณจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ต่อไป
|
6 | 0 |
7. 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง ประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติ โครงการฯ จำนวน 4 โครงการ คือ 1. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด 2. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล 3. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนวัดดุลยาราม และ 4. โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนชุมสายโทรศัพท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง พิจารณาอนุมัติงบประมาณโครงการทั้ง 4 โครงการ คือ
|
19 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ตัวชี้วัด : 1. แผนงานหรือโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์และได้รับการอนุมัติร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 | กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นเทศบาลตำบลฉลุง มีแผนงาน/โครงการ ประจำปี 2566 มีการพิจารณาโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ซึ่งได้รับการอนุมัติทั้ง 7 โครงการ ดังนี้
1) โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 เป็นเงิน 38,975 บาท
2) โครงการส่งเสริมสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลฉลุงเป็นเงิน 12,290 บาท
3) โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดารุลญันนะห์ เป็นเงิน 18,430 บาท
4) โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานชุมชนตลาดสด เป็นเงิน 48,750 บาท |
|
2 | ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพและมีวัสดุเพียงพอต่อการดำเนินงาน ร้อยละ100 |
100.00 | 100.00 | กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการบริหารจัดการกองทุนฯ และมีการจัดทำรายงานของกองทุนฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
3 | ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ตัวชี้วัด : 1. หน่วยงาน/องค์กรต่างๆสามารถดำเนินงานได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 | กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการกำกับดูแลและตรวจสอบหน่วยงานหรือกลุ่มอองค์กรผู้ที่ได้รับการอนุมัติงบประมาณ ดำเนินการไปตามแผนงานคณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด |
|
4 | ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : 1. มีการทำรายงานการรับ-จ่ายเงินกองทุนครบตามกำหนด |
100.00 | 100.00 | กองทุนระบบหลักหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง มีการรายงาน การจัดทำสรุปผลการดำเนินโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุนฯ พร้อมทั้งรับรองรายงานรับ-จ่าย และเงินคงเหลือ ของกองทุนฯ เป็นรายเดือน และรายไตรมาสตามที่กำหนดอย่างถูกต้อง และครบถ้วน |
|
5 | ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน ตัวชี้วัด : 1. คณะกรรมการกองทุนฯ อนุกรรมการ คณะทำงาน ได้รับการอบรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
100.00 | 100.00 | การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน โดยใช้วาระแจ้งเพื่อทราบและวาระอื่นๆ แจ้งในที่ประชุมให้แก่คณะกรรมการทราบถึง อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนตามข้อ 16 แห่งประกาศฯ พ.ศ. 2561 กำหนดไว้ จำนวน 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ |
|
6 | ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ตัวชี้วัด : 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯได้เข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
100.00 | 100.00 | การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ ได้เข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางทำงานและทำความเข้าใจประกาศฯ กองทุนสุขภาพตำบล ฉบับ 2561 จำนวน 1 ครั้ง |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 19 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 19 | 19 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพิจารณากลั่นกรอง/อนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดทำรายงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (3) ข้อที่ 3 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (4) ข้อที่ 4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ (5) ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน อนุกรรมการ คณะทำงาน (6) ข้อที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าวัสดุสำนักงาน/ค่าถ่ายเอกสาร/ค่าไวนิล (2) 2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง (3) 3. ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน (4) 4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง (5) 5. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง (6) 6. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการคณะทำงาน (7) 7. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ (8) 1.1 ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ A4, ปากกา, กระดาษปกฯลฯ) (9) 1.2 ค่าถ่ายเอกสาร (10) 1.3 ค่าไวนิล (11) 2.1 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการและผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (12) 2.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (13) 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (14) 2.3 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนงาน/โครงการผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 (15) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 1 (16) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 2 (17) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 3 (18) 3.1 ประชุมอนุกรรมการติดตามประเมินผลงาน ครั้งที่ 4 (19) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (20) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (21) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 (22) 4.1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 4 (23) 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 1 (24) 5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และผู้ที่เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 2 (25) 6.1 อบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน (26) 7.1 เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 ระยะเวลาโครงการ 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
หน่วยงาน/ชมรม มีการร่วมกลุ่มเพื่อจัดทำโครงการ
หลักฐานโครงการ
จัดทำโครงการต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01 ระยะเวลาโครงการ 6 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | หน่วยงาน/ชมรม มีการร่วมกลุ่มเพื่อจัดทำโครงการ |
หลักฐานโครงการ |
จัดทำโครงการต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปี 2566 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66–L7580-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุชาดา ยาหยาหมัน รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......