กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุธาทิพย์ ม่วงปลอด

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5284-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ภัยเงียบของโรค Metabolic (โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง)ได้คุกคามชีวิตของคนไทยจำนวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต ตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณด้านการดูแลสุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต ดังจะเห็นได้จากสถานบริการสาธารณสุขทั้งของภาครัฐ เอกชนและสถานบริการทุกระดับ ตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่งผลให้งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้สำหรับโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามรายหัวประชากรจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายด้านยา บุคลากร การจัดสถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่าง ๆ ในขณะที่งบประมาณของประเทศ มีอยู่อย่างจำกัด การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยมีเป้าหมายเป็นประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง การเจาะน้ำตาลในเลือด ซักประวัติพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะมีการดำเนินการส่งต่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง โดยเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกรายในรายที่ป่วยแล้ว ได้รับการตรวจประเมินภาวะโรค อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคลดลง จากผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ย้อนหลังปี 2563 -2565 พบว่ามีผลค่าดัชนีมวลกายเกิน คิดเป็นร้อยละ 39.35 , 39.65และ 39.61ตามลำดับ และจากผลการคัดกรองดังกล่าวพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่คิดเป็นร้อยละ 6.25 ,6.8 และ3.06 ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่คิดเป็นร้อยละ 6.25 ,6.8 และ3.06ปัจจุบันรพ.สต.บ้านกุบังปะโหลดมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด 299 ราย ผู้ป่วยความดัน 214 ราย โรคเบาหวาน 11 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 85ราย
จากข้อมูลสถานการณ์ปัญหาและแนวโน้มการเจ็บป่วยที่เพิ่มขึ้นทุกปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด จึงได้จัดทำโครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปี 2565 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายการป้องกันและการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน มีการประชุมกำหนดทิศทางนโยบาย ร่วมคิด ร่วมดำเนินการกำหนดมาตรการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน และร่วมประเมินผล ตลอดจนเจ้าหน้าที่มีการถ่ายทอดความรู้ ด้านสุขภาพ รายบุคคลตามบริบท ของแต่ละบุคคลในชุมชนและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเพื่อมุ่งหวังประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ เกิดความตระหนัก ใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนสามารถจัดการสุขภาพตนเอง มีกิจกรรมดี ในการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน เกิดกลุ่มออกกำลังกาย มีการติดตามดูแลซึ่งกันและกันในชุมชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมในระดับหนึ่ง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนเกิดความพิการก่อนวัยอันควรลดกลุ่มป่วยโดยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน ชุมชนอาจเกิดกฎกติกาหมู่บ้านในการทำกิจกรรม ดังนั้นในปี 2566 จัดทำโครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปี 2566 ขึ้นอีกครั้งเพื่อเป็นการต่อยอดขยายความครอบคลุมให้กับกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรองรายใหม่ปี 2565 ได้มีกิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.เข้มข้น เพื่อสกัดการเป็นกลุ่มป่วย โดยมีกลุ่มพี่เลี้ยงในการออกกำลังกาย และกิจกรรมการให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานมีการแจกต้นกล้าพันธ์ผักจากชุมชน ให้กลุ่มเสี่ยงรายใหม่ได้ปลูกไว้รับประทานในครัวเรือน และมีการติดตามกลุ่มเสี่ยงป่วยจากแกนนำอสม.ในเรื่องการเจาะน้ำตาลและการวัดความดันโลหิตที่บ้านระยะเวลาในการติดตาม 1 เดือน 3 เดือน 6เดือน ซึ่งถือเป็นการดูแลซึ่งกันและกันในชุมชนอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดัน,เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบ 3อ2ส. 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
  2. ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดัน,เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบ 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อ 3.มีกลุ่มออกกำลังกายในหมู่บ้านอย่างน้อย 1 กลุ่ม 4.มีกลุ่มปลูกผัก ในหมู่บ้านอย่างน้อย 1 กลุ่ม 5.ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดัน,เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบ 3อ2ส. 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดัน,เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบ 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1.1 ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองซ้ำร้อยละ 80 ข้อที่ 1.2 ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีการจัดตั้งกลุ่มปลูกผัก อย่างน้อย 1กลุ่ม ข้อที่ 1.3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง มีการกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3วัน วันละ30 นาทีขึ้นไป ข้อที่ 2.1 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ 5 ข้อที่ 2.2 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ 2.5
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดัน,เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบ 3อ2ส. 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (2) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคความดัน,เบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามรูปแบบ 3อ2ส.  ข้อที่ 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนวิถีใหม่ห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5284-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุธาทิพย์ ม่วงปลอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด