กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน ”



หัวหน้าโครงการ
นางอัคริมา บุญชู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5284-02-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5284-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 ตุลาคม 2565 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การฆ่าตัวตายเป็นปัญหาทางสังคมมากกว่าจะเป็นปัญหาทางการแพทย์แต่เพียงอย่างเดียว แม้ว่าการจัดบริการให้ความช่วยเหลือผู้อยู่ในภาวะวิกฤตของชีวิตและการให้การรักษาทางจิตเวชอย่างถูกต้องจะเป็นสิ่งสำคัญ แต่มาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายหลายประการ ต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ในสังคมเราอาจกำหนดมาตรการป้องกันการฆ่าตัวตาย ได้แก่ การจัดการศึกษา การควบคุมวิธีการที่ใช้ในการฆ่าตัวตาย จัดบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต การวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชอย่างถูกต้อง การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและสังคม การเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า ซึ่งภาวะซึมเศร้า เป็นโรคทางจิตเวชที่มีผู้เป็นจำนวนไม่น้อย แต่ยังมีผู้รู้จักโรคนี้ไม่มากนัก บางคนเป็นโดยที่ตัวเองไม่ทราบ คิดว่าเป็นเพราะตนเองคิดมากไปเองก็มี ทำให้ไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม และทันท่วงที เป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตาย สำหรับสาเหตุของภาวะซึมเศร้า มีความสัมพันธ์กับหลายปัจจัย ทั้งจากด้านกรรมพันธุ์ การพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็ก พัฒนาการของจิตใจ รวมถึง การเปลี่ยนแปลงของระดับสารเคมีในสองบางตัว โดยมีความเครียดทางจิตสังคมเป็นตัวกระตุ้นให้เป็นโรคได้มากขึ้น เช่น การสูญเสียคนที่รัก การหย่าร้าง ความเครียดทางจิตสังคม การมีโรคทางกายที่เรื้อรังและการไปพึ่งพิงสารเสพติด โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่สามารถดูแลรักษาได้ ซึ่งโรคนี้เป็นการเจ็บป่วยอย่างหนึ่งของร่างกายเช่น เดียวกับการป่วยด้วยโรคอื่นๆ ซึ่งถ้าได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง
อาสามสมัครสาธารณสุขม 3 บ้านควนยาหวาให้เห็นความสำคัญในการป้องกันภาวะสุขภาพจิตซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะซึมเศร้าและเพิ่มขีดความสามารถให้ความรู้กระตุ้น ให้ประชาชนตระหนักความสำคัญของปัญหาและการมีส่วนร่วมตลอดจนการป้องกันกันและช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าแก่ประชาชนทั่วไปนอกจากนี้อาสาสมัครสาธารณสุข มีส่วนร่วมในการสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน 3เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบยอมรับซึ่งกันแลกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน ปี ๒๕๖6

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ส่งเสริมด้านสุขภาพจิตในชุมชน
    1. กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้
    2. กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เพื่อระบบการส่งต่อ และการรักษาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน 3เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบยอมรับซึ่งกันแลกัน
ตัวชี้วัด : 1. 1. ร้อยละ 90 ได้รับการประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง 2 ร้อยละ 90 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น เรื่องสุขภาพจิต 1. 3. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่ในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน 3เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบยอมรับซึ่งกันแลกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน ปี ๒๕๖6

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5284-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัคริมา บุญชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด