กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
สรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”25 เมษายน 2566
25
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เยาวชนลังฆารีย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 1 ชุมชนปลอดบุหรี่ 1.1 แต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 1๕ คน 1.2 จัดประชุมคณะทำงาน 1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ 1.4 นำเสนอแลกเปลี่ยน วิเคราะห์ 1.5 จัดทำแผนการดำเนินงานบูรณาการร่วมกัน 1.6 จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง พร้อมประชุมแลกเปลี่ยนก่อนและหลังการดำเนินงาน จำนวน ๑ ครั้ง กิจกรรมที่ 2 สายใยรักครอบครัว คนสามวัย         กิจกรรมกลุ่มและอบรม เรื่องพิษภัยบุหรี่ การดูแลคนในครอบครัวสร้างสานสัมพันธ์ให้กำลังใจกันและกัน มีส่วนร่วมในการให้เด็กและเยาวชนเลิกบุหรี่ ผ่านการจัดกระบวนการกลุ่ม และทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างพ่อแม่และลูกจำนวน ๘๐ คน เช่น กอด บอกรัก และมอบดอกไม้ กิจกรรมที่ 3 ครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน แสดงความจำนงในเอกสาร พร้อมจัดกิจกรรมเพื่อประกาศตนเลิกบุหรี่ และมีการเล่าประสบการณ์ วิธีการและกลวิธีงด ละ เลิกบุหรี่ ซึ่งมีกำหนด 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน สามารถ เลิกได้ถาวร มีการประกาศหรือปฏิญาณตน พร้อมรับมอบเกียรติบัตรการตั้งใจเลิกบุหรี่ พร้อมมีการให้คำปรึกษาการเลิกบุหรี่ วิธีการเลิกบุหรี่ เช่น ใช้การนวดกดจุดร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญของ จนท.รพ. มายอ และติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมเดินประชาสัมพันธ์การต่อต้านการสูบบุหรี่ ส่งเสริมสถานที่ราชการ ปลูกจิตสำนึก ประชาสัมพันธ์ข้อตกลงในการขอใช้สถานที่ มีการ่วมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น ทำความสะอาดมัสยิด กวาดขยะ ส่งเสริมด้วยหลักศสานาเป็นประจำทุกเดือนติดต่อกัน 4 ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้างเอื้อต่อการพูดคุย
  2. เยาวชนสามารถปรับแนวคิดทัศนะคติไปในระดับหนึ่ง
  3. เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น
  4. เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ
  5. เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้
กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมเดินประชาสัมพันธ์การต่อต้านการสูบบุหรี่4 มีนาคม 2566
4
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เยาวชนลังฆารีย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ส่งเสริมสถานที่ราชการ ปลูกจิตสำนึก ประชาสัมพันธ์ข้อตกลงในการขอใช้สถานที่ มีการ่วมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น ทำความสะอาดมัสยิด กวาดขยะ ส่งเสริมด้วยหลักศสานาเป็นประจำทุกเดือนติดต่อกัน 4 ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้าง เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

กิจกรรมที่ 3 ครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่26 กุมภาพันธ์ 2566
26
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เยาวชนลังฆารีย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน แสดงความจำนงในเอกสาร พร้อมจัดกิจกรรมเพื่อประกาศตนเลิกบุหรี่ และมีการเล่าประสบการณ์ วิธีการและกลวิธีงด ละ เลิกบุหรี่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

กิจกรรมที่ 2 สายใยรักครอบครัว คนสามวัย25 กุมภาพันธ์ 2566
25
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เยาวชนลังฆารีย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมกลุ่มและอบรม เรื่องพิษภัยบุหรี่ การดูแลคนในครอบครัวสร้างสานสัมพันธ์ให้กำลังใจกันและกัน มีส่วนร่วมในการให้เด็กและเยาวชนเลิกบุหรี่ ผ่านการจัดกระบวนการกลุ่ม และทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างพ่อแม่และลูกจำนวน ๘๐ คน เช่น กอด บอกรัก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้างเอื้อต่อการพูดคุย เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ

กิจกรรมที่ 1 ชุมชนปลอดบุหรี่24 กุมภาพันธ์ 2566
24
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย เยาวชนลังฆารีย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.1 แต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 1๕ คน 1.2 จัดประชุมคณะทำงาน 1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ 1.4 นำเสนอแลกเปลี่ยน วิเคราะห์ 1.5 จัดทำแผนการดำเนินงานบูรณาการร่วมกัน 1.6 จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง พร้อมประชุมแลกเปลี่ยนก่อนและหลังการดำเนินงาน จำนวน ๑ ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เยาวชนสามารถปรับแนวคิดทัศนะคติไปในระดับหนึ่ง