กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส


“ โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคติดต่อ ”

ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอารยาฮา สาเมาะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2566 ถึง 30 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคติดต่อ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2566 - 30 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยมีปริมาณมาก ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน ส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามองเสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพราะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื่อนของสารพิษ เช่น ตะกั้ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ แหล่งน้ำเสีย ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม ตามที่คระรัฐมนตรีมีมติเห็นด้วยกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564) ในคราวประชุม เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2559 ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงมหาดไทยจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยระยะสั้น (พ.ศ. 2559-2560) ในการจัดทำแผนปฎิบัติการ ประเทศไทยไร้ขยะ ตามแนวทางประชารัฐ ระยะ 1 ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ไหม่ โดยมีเป้าหมายเพือลดปริมาณเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศลดลงร้อยละ 5 จากอัตราการเกิดขยะมูลฝอย และตามหนังสือที่ มห 0023.6/ว 85 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2561 จากสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ เรื่องขอความร่วมมือ ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การคัดแยกขยะที่ต้นทางเพื่อเป็นการรณรงค์สร้างจิตสำนึกและการกระต้นให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะทีต้นทาง และตามหนังสือที่ มห 0023.6/ว 88 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 จากสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ เรื่อง ขอความร่วมมือติดตั้งถังขยะเปียกครัวเรือนให้ครบ 80% ของครัวเรือนในพื้นที่
ดังนั้น เพือเป็นการดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ของพื้นที่บ้านบือนังกือเปาะ หมู่ที่ 5 ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส และตอบสนองแนวทาง "ประชารัฐ" ทางชมรมคนรักสุขภาพและสิ่่งแวดล้อมบ้านบือนังกือเปาะ จึงได้จัดทำ โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคขึ้น เพื่อให้ประชาชนบ้านบือนังกือเปาะ หมู่ที่ 5 ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการลดปริมาณขยะและการจัดการขยะที่ถูกต้อง โดยแต่ละครัวเรือนช่วยกันคัดแยกขยะและกำจัดให้ถูกวิธีตามชนิดของขยะหรือการนำกลับมาใหม่ ตามหลักการ 3Rs จะเป็นการลดปริมาณขยะได้มาก และช่วยทำให้สิ่งแวดล้อมในบ้านเรือนและชุมชนน่าอยู่ สะอาด ลดแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค ลดกลิ่นเหม็นและเหตุรำคาญต่างๆ จากขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือน ที่สำคัญสามารถนำขยะเหล่านั้นกลับมาใช้ใหม่ได้ รวมทั้งสามารถนำมาทำ น้ำหมักชีวภาพเพื่อบำรุงดิน หรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ได้อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
  2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะโดยชุมชน
  3. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเรื่องความรู้เกี่ยวกับการคักแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนขยะทั่วไป ขยะเปียก การป้องกันตัวเองจากโรคที่มากับขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชน และมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน
  2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทางและรู้วิธีการขัดแยกขยะ
  3. ช่วยรักษาภาวะโรคร้อนได้อีกวิธีหนึ่ง
  4. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ชุมชนตำบลตันหยงมัส น่าอยู่อย่างยั่งยื่น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจในการคัดแยกขยะที่ต้นทางร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการคัดแยกขยะและมีการจัดทำถังขยะเปียก ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีการสำรวจลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ 10 และ (CI) ไม่เกินร้อยละ 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะโดยชุมชน (3) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเรื่องความรู้เกี่ยวกับการคักแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนขยะทั่วไป ขยะเปียก การป้องกันตัวเองจากโรคที่มากับขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนต้นแบบ ลดขยะที่ต้นทาง เพื่อลดโรคติดต่อ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารยาฮา สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด