กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยี่งอ


“ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ เร็งมา

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L8012-1-9 เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L8012-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดยพบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม Cancers in Thailand , Summary Report 2010 ได้รายงานในปี พ.ศ. 2551 ประเทศไทยมีประชากรสตรีที่เสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูก 26.09 ล้านคน มีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ 9,999 ราย เสียชีวิต 5,216 ราย หรือประมาณร้อยละ 53 ถ้าคิดเป็นวันแล้วจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเฉลี่ยวันละ 14 คนอุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูก สูงสุดในช่วงอายุ 50 - 55 ปี สำหรับอุบัติการณ์ในจังหวัดเชียงใหม่ มีความแตกต่างจากภาพรวมของประเทศ คือพบว่ามีอุบัติการณ์สูงสุดในช่วงอายุ 65-70 ปี โดยใกล้เคียงกับในช่วงอายุ 50 - 55 ปี, 40 ถึง 45 ปีและ 35 ถึง 40 ปีซึ่งมีอุบัติการณ์สูงรองๆกันไป และจากการศึกษาทางด้านไวรัส พบว่าเชื้อไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมา (Human Papilloma Virus, HPV) เชื้อไวรัส HIV โดยเฉพาะไวรัสเอชพีวี 16 และ 18 เป็นสาเหตุหลัก ให้เกิดมะเร็งปากมดลูก (3,4) สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้มีโอกาสติดเชื้อไวรัส ได้แก่ การมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์เมื่ออายุยังน้อยการตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกระยะแรก และการดูแลรักษาสตรีที่พบโรคในระยะเซลล์ผิดปกติ แต่ยังไม่ได้เป็นมะเร็งเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง 4,5,8 เป็นการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม โดยการตรวจคัดกรองตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายขาดได้ทำให้ลดอัตราการตายได้ ในการลดอุบัติการณ์และอัตราตายจากมะเร็งปากมดลูกควรมีการตรวจคัดกรองสตรีอายุ 30-60 ปีให้มากที่สุด โดยต้องทำซ้ำทุก 5 ปี โดยจังหวัดนราธิวาสในกำหนดตัวชี้วัดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปีร้อยละ 80 สะสมผลงาน 5 ปี จากการดำเนินงานมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ตั้งแต่ปี 2560-2565 สะสมผลงานนั้นพบว่าสตรีอายุ 30-60 ปีได้ผ่านการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทั้งสิ้นจำนวน 302 คน คิดเป็นร้อยละ 29.90 และพบว่าพื้นที่ที่ตรวจได้น้อยที่สุดได้แก่ หมู่ 7 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส ตรวจทั้งสิ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 14.98 จะเห็นได้ว่าอัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่หมู่ 7 นั้น ได้ผลงานที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาก จากการสอบถามจากอสม. ในเขตพื้นที่รับผิดชอบกล่าวคือกลุ่มเป้าหมายในเขตเทศบาลหมู่ 7 นั้น เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีงานประจำ เช่น บางคนทำงานรับราชการ บางคนเป็นลูกจ้างและบางคนค้าขายเป็นในลักษณะไปเช้าเย็นกลับ ไม่สะดวกในการตรวจในเวลาราชการ ทั้งแบบมาตรวจที่โรงพยาบาลหรือที่บ้าน บางคนนั้นอ้างว่าต้องการตรวจคลินิกหรือโรงพยาบาลเอกชน บางคนไม่ให้ความร่วมมือโดยอ้างว่าตัวเอง ไม่ได้ป่วยไม่มีอะไรที่ผิดปกติ ไม่จำเป็นต้องตรวจ ซึ่งปัญหาทั้งหมดทั้งมวลนั้นมาจากการไม่ตระหนักและไม่เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรอง จากปัญหาดังกล่าวจำเป็นอย่างยิ่งที่ทางเจ้าหน้าที่จะต้องลงปฏิบัติการค้นหาและให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้แบบเชิงรุก เนื่องจากความรู้ที่ถูกต้องสามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติและนำมาซึ่งการตัดสินใจในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทุกๆ 5 ปี /ครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ไม่พบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะลุกลามหรือระยะแพร่กระจาย 2.กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบผิดปกติในระยะก่อนเป็นมะเร็งมามารถรักษาให้หายขาดได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เพราะ ยังมีกลุ่มเป้าหมายจำนวนมากที่ปฏิเสธในการตรวจคัดกรอง โดยให้เหตุผลคือกลัวขั้นตอนในการตรวจ กลัวเจ็บ อายุ รวมถึงกลัวผลตรวจเป็นผิดปกติเป็นต้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทุกๆ 5 ปี /ครั้ง
    ตัวชี้วัด : -สามารถค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะที่ 1 และ 2 ร้อยละ >50 -กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบผิดปกติจะได้รับการส่งต่อร้อยละ 100
    100.00

    ไม่พบหญิงวัยเจริญพันธ์ุป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกในช่วงการค้นหาเชิงรุกชุมชน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทุกๆ 5 ปี /ครั้ง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L8012-1-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอดุลย์ เร็งมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด