กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา


“ โครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา ”

พื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชีฟะห์ เวาะฟะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา

ที่อยู่ พื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3005-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน รหัสโครงการ 66-L3005-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ตามแผนพัฒนาสุขภาพระดับพื้นที่ขององศ์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คือ การบริการด้านการแพทย์แผนไทยในการรักษาพยาบาล การป้องกัน การบำบัดรักษา การฟื้นฟูสภาพ และการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยของประชาชนด้วยศาสตร์การแพทย์การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก ส่งเสริมการปลูกและใช้สมุนไพรไทย เพื่อให้ประชาชนมุ่งสู่การพึ่งพาตนเอง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของสังคมไทยที่ถูกสะสมและถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่ง สู่อีกรุ่นหนึ่งมาเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการบำบัดรักษาสุขภาพของประชาชน ซึ่งเริ่มได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แนวทางในการรักษาผู้ป่วย โดยทั่วไปจะมีการใช้ยาสมุนไพร การนวดประคบประกอบการรักษา นอกจากนี้การอบสมุนไพรยังเป็นทางเลือกหรือวิธีการหนึ่งที่ง่ายและปลอดภัย การอบไอน้ำสมุนไพรเป็นวิธีการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ที่ใช้บำบัดรักษาและส่งเสริมสุขภาพอย่างหนึ่งที่ใช้สืบต่อกันมาที่ได้จากการต้มสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหย นำมาต้มจนเดือด ใช้ " ความร้อนบำบัด " เดิมทีการอบสมุนไพรจะใช้ในหมู่สตรีหลังคลอดบุตร เพื่อช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตให้ดีขึ้น ในการช่วยขับน้ำคาวปลา และใช้ควบคู่กับการนวดแผนไทย บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ เพื่อให้การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงร่างกายได้สม่ำเสมอ นอกจากนี้ยังช่วยให้หายใจสะดวกขึ้นขยายหลอดลม ช่วยบรรเทาอาการกำเริบของโรคหืด ส่งผลให้การใช้ยาพ่นลดลง ลดการใช้ยาขยายหลอดลมในผู้ป่วยหืด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา จึงเห็นความสำคัญของการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพราะประชาชนมีความต้องการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยเป็นจำนวนมาก และเพื่อความสะดวกแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลลางา จึงเล็งเห็นว่า ควรเปิดบริการคลินิกแพทย์แผนไทยโดยจะมีการบริการอบไอน้ำสมุนไพร การนวดและประคบสมุนไพรในคลินิกแพทย์แผนไทย แต่วัสดุอุปกรณ์ทางแพทย์แผนไทยยังไม่พร้อมที่จะเปิดให้บริการ ทางรพ.สต.ลางา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางาขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 .เพื่อให้บริการอบไอน้ำสมุนไพร นวดและประคบสมุนไพรในคลินิกแพทย์แผนไทย รพ.สต.ลางา
  2. 2. เพื่อพัฒนาคลินิกแพทย์แผนไทยให้มีมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
  3. 3. ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1. เปิดบริการคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้บริการตรวจวินิจฉัย รักษา และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  2. กิจกรรมที่ 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการณ์ให้ความรู้ในการนวดและการใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้องและสาธิตการทำน้ำมันไพล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
- ประชาชนที่ถูกคัดเลือก 40
- ประชาชนในพื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน อายุ15 ปีข 4,845
- ประชาชนในพื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน(อายุ15 ปีข

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้ประชาชนมีทางเลือกในการรับบริการแพทย์แผนไทยในสถานบริการสาธารณสุข 2.เพื่อให้เกิดการผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ 3.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน รักษาโรคเบื้องต้นด้วยการแพทย์แผนไทย 4.เพื่อให้คลินิกแพทย์แผนไทยได้รับมาตรฐานงานด้านการแพทย์แผนไทย ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 .เพื่อให้บริการอบไอน้ำสมุนไพร นวดและประคบสมุนไพรในคลินิกแพทย์แผนไทย รพ.สต.ลางา
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้มาใช้บริการการอบไอน้ำสมุนไพร นวดและประคบสมุนไพร
1.00

 

2 2. เพื่อพัฒนาคลินิกแพทย์แผนไทยให้มีมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ตัวชี้วัด : ผ่านเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐานโรงพยาบาล ส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน(รพ.สส.พท.) ในด้านสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ และสิ่งแวดล้อม (ตู้อบไอน้ำสมุนไพร)
1.00

 

3 3. ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ที่ได้รับบริการมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดี
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4925
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
- ประชาชนที่ถูกคัดเลือก 40
- ประชาชนในพื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน อายุ15 ปีข 4,845
- ประชาชนในพื้นที่ตำบลลางาทั้ง7หมู่บ้าน(อายุ15 ปีข 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 .เพื่อให้บริการอบไอน้ำสมุนไพร นวดและประคบสมุนไพรในคลินิกแพทย์แผนไทย รพ.สต.ลางา (2) 2. เพื่อพัฒนาคลินิกแพทย์แผนไทยให้มีมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (3) 3. ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1. เปิดบริการคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้บริการตรวจวินิจฉัย รักษา และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) กิจกรรมที่  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการณ์ให้ความรู้ในการนวดและการใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้องและสาธิตการทำน้ำมันไพล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L3005-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชีฟะห์ เวาะฟะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด