กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง


“ โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย ”

ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯบ้านโฉลง

หัวหน้าโครงการ
นายปฏิภาณ เหงบารู

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯบ้านโฉลง จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L4113-01-11 เลขที่ข้อตกลง 09/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯบ้านโฉลง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯบ้านโฉลง รหัสโครงการ 66-L4113-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยสูงอายุ หรือ วัยชรา หมายถึง มนุษย์ที่มีอายุอยู่ในช่วงปลายของชีวิต ความแก่ ย่อมเป็นธรรมดาของทุกชีวิตแม้ว่าร่างกายของเราในวัยสูงอายุ จะเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมมากกว่า การเจริญเติบโตก็ตามแต่ก็พบว่าร่างกายแต่ละคนมีความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่เท่ากัน ด้วยเหตุปัจจัยหลายอย่าง สิ่งสำคัญนั้นคือพฤติกรรมของเราในการดูแลสุขภาพร่างกายวัยผู้สูงอายุจะมีอาการปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวด และรับรู้อุณหภูมิ ลดจำนวนลงทำให้เกิดอาการชาปลายมือปลายเท้า ความสามารถในการทรงตัวลดลง ทำให้มีอาการไม่สมดุลระหว่างเดิน มีอาการวิงเวียนศีรษะ เมื่อเปลี่ยนท่าทางอิริยาบถจึงเกิดเป็นความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุในเวลาต่อมาได้ เมื่อเข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุแล้ว จะเกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างมาก และรวดเร็ว ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสิ่งแวดล้อมทุกสิ่งมีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของผู้สูงอายุอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และวัยผู้สูงอายุ ต้องเป็นวัยที่ควรมีการดูแลเอาใจใส่ สุขภาพร่างกายมากขึ้น ดั้งนั้น การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Medicine) จึงเป็นกระบวนการทางการแพทย์เกี่ยวกับบำบัด ป้องกันโรค หรือการส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพของผู้สูงอายุในทางหลักการแพทย์แผนไทย เรามักได้ยินเสมอว่า เลือดจะไปลมจะมาเป็นอาการของผู้สูงอายุ จึงจำเป็นต้องมีการดูแลผู้สูงอายุด้วยหลักการแพทย์แผนไทยด้วยการบำบัดรักษา เน้นการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมฟื้นฟู ด้วยการใช้ยาน้ำสมุนไพรมาใช้กับผู้สูงอายุเช่น การแช่เท้าน้ำยาสมุนไพร และการป้องก้นข้อเสื่อม ด้วยยาสมุนไพร และการจัดกระดูก ต่อการเคลื่อนไหว ในผู้สูงอายุ อีกทั้งการแนะนำในการดำรงชีวิตหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องจากการสำรวจพบว่าจำนวนสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรเพิ่มมากขึ้นและเห็นได้ว่าหลักการแพทย์แผนไทยจะช่วยบำบัด ฟื้นฟูวัยสูงอายุได้ จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อการรักษาโรคด้วยยาสมุนไพร
  3. เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น กับการดูแลผู้สูงอาย
  4. เพื่อสานสัมพันธ์ครอบครัวโดยใช้วิถีแพทย์แผนไทยเป็นสื่อกลาง
  5. เพื่อใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาสมุนไพรกับผู้สูงอายุและการจัดกระดูกต่อการเคลื่อนไหวพื้นฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.การรู้จักฟื้นฟูสุขภาพวัยผู้สูงอายุ ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย 2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร เพิ่มมากขึ้น 3.วัยผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกาย ที่ดีมากขึ้น 4.ครอบครัวมีส่วนร่วมดูแลกันระหว่างผู้สูงอายุ 5.การนำวิถีการแพทย์แผนไทยมาดูแลบำบัดฟื้นฟูสุขภาพร่างกายเพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : มีการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย
0.00

 

2 เพื่อการรักษาโรคด้วยยาสมุนไพร
ตัวชี้วัด : มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพรเพิ่มมากขึ้น
80.00 100.00

 

3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น กับการดูแลผู้สูงอาย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายเข้าใจหลักพื้นฐาน การจัดกระดูกได้
70.00 100.00

 

4 เพื่อสานสัมพันธ์ครอบครัวโดยใช้วิถีแพทย์แผนไทยเป็นสื่อกลาง
ตัวชี้วัด : มีการสานสัมพันธ์ครอบครัวโดยใช้วิถีแพทย์แผนไทยเป็นสื่อกลาง
0.00

 

5 เพื่อใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ตัวชี้วัด : มีการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย (2) เพื่อการรักษาโรคด้วยยาสมุนไพร (3) เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น กับการดูแลผู้สูงอาย (4) เพื่อสานสัมพันธ์ครอบครัวโดยใช้วิถีแพทย์แผนไทยเป็นสื่อกลาง (5) เพื่อใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาสมุนไพรกับผู้สูงอายุและการจัดกระดูกต่อการเคลื่อนไหวพื้นฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ต่อระบบการจัดกระดูก เคลื่อนไหว ป้องกัน ต่อการเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุด้วยหลักแพทย์แผนไทย จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L4113-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปฏิภาณ เหงบารู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด