กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ประเภทที่ 1) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ที่ปัจจุบันมีแนวโน้มทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิต รวมทั้งสร้างภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจำนวนมาก ที่ผ่านมาแม้จะมีกระบวนการคัดกรองและรักษาผู้ป่วย แต่สิ่งที่เป็นปัญหาทั้งต่อผู้ป่วยและผู้รักษาคือ การไม่สามารถทำให้ผู้ป่วยมีความเข้าใจที่ชัดเจน และรับทราบแนวทางปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง และเหมาะสมต่อระดับความรุนแรงของโรคได้ แต่เมื่อมีแนวคิดเรื่องปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ก็ช่วยให้การให้ข้อมูลต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะการเปรียบเทียบระดับอาการกับปิงปองจราจรชีวิต 7 สี จะทำให้ผู้ป่วยเข้าใจสถานการณ์ของตนเองว่าอยู่ในระดับใด ขณะเดียวกัน ผู้ดูแลรักษาก็สามารถให้ข้อมูลการปฏิบัติตน และกำหนดแนวทางการดูแลรักษาให้เหมาะสมได้โดยแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สีจะเป็นเครื่องมือคัดกรอง และจัดระดับความรุนแรงของโรคด้วยการเทียบกับปิงปองจราจรชีวิต 7 สีเพื่อจัดแบ่งประชาชนออกเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มปกติ สีขาว กลุ่มเสี่ยง สีเขียวอ่อน กลุ่มป่วย ระดับ 0 สีเขียวเข้ม ระดับ 1 สีเหลือง ระดับ 2 สีส้ม และระดับ 3 สีแดง ส่วนกลุ่มผู้ป่ายที่มีภาวะแทรกซ้อนใช้สีดำ
    ปี 2565 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกะทูน-พิปูนล้นเกล้า ได้ดำเนินการตรวจรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 428 คน จัดอยู่ในระดับสีเขียวจำนวน 181  คน ระดับสีเหลืองจำนวน 168 คน ระดับสีส้มจำนวน 44 คน ระดับสีแดงจำนวน 25 คน และระดับสีดำ 10 คน และโรคเบาหวานจำนวน 177 คน จัดอยู่ในระดับสีเขียวจำนวน 58 คน ระดับสีเหลืองจำนวน 49 คน ระดับสีส้มจำนวน 44 คน ระดับสีแดงจำนวน 18 คน และระดับสีดำ 8 คน
      ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะทูน - พิปูนล้นเกล้า จึงจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน  โดยเลือกผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มสีส้มและสีแดง ดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขให้ได้ผลทั้งในเชิงป้องกันและแก้ไขปัญหา ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว จำเป็นต้องพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม และทักษะที่จำเป็นด้านสุขภาพ ตลอดจนการจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ทั้งนี้หลักสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดี คือ การดูแลและให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกบริโภคอาหารให้ครบ ๕ หมู่ มีความหลากหลายและพอเพียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ตามแนวทาง ๓ อ ๒ ส เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 131
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การเกิดภาวะไตวาย เส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน อัมพฤกษ์ อัมพาตได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ตามแนวทาง ๓ อ ๒ ส เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 131
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 131
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ตามแนวทาง ๓ อ ๒ ส เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด