กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด ”
ตำบลสามตำบล อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาดียา สาและ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด

ที่อยู่ ตำบลสามตำบล อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 66-L4142-01-04 เลขที่ข้อตกลง 13/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสามตำบล อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสามตำบล อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 66-L4142-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิดล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทย ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพประชาชนนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่องจากอดีตถึงปัจจุบัน ฉะนั้นการพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว จึงเป็นหนึ่งทางเลือกในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และบรรเทาโรคภัย ได้ จากสถิติการรับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดล ปี 2564 พบว่าอาการปวดกล้ามเนื้อติดอันดับสี่ ของจำนวนป่วยสูงสุด 5 อันดับแรกโดยมีผู้ป่วยรับบริการด้วยอาการปวดกล้ามเนื้อ จำนวน 1,021 ครั้งอีกทั้งจากการสำรวจพฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา ในตำบลลิดลพบว่า มีมารดาเพียงร้อยละ 57.14 ที่เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน โดยสาเหตุที่มารดาไม่สามารถให้ลูกกินนมแม่ตามเกณฑ์ ได้แก่การต้องออกไปทำงานนอกบ้าน (ร้อยละ 84.25) และการให้เหตุผลว่าน้ำนมแม่ไหลน้อย(ร้อยละ 73.54) ทั้งนี้สาเหตุดังกล่าวสามารถแก้ไขได้ด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทย ในการกระตุ้นและเพิ่มน้ำนมในมารดาหลังคลอด เช่นการนวดประคบ การนวดกดจุด การบริหารร่างกาย และการใช้สมุนไพร ซึ่งหาก อสม.ที่รับผิดชอบครัวเรือน ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะด้านแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก จะทำให้เกิดความมั่นใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัวตลอดจนประชาชนในเขตที่ตนเองรับผิดชอบ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดล จึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอดเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
    1. มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
    2. ร้อยละ 65 ของทารกแรกเกิด กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. คัดเลือกประชาชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน
  2. จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก โดยเน้นการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอด
  3. จัดทำแผนการให้บริการการแพทย์แผนไทยเชิงรุก แก่มารดาหลังคลอด
  4. จัดซื้อลูกประคบสมุนไพร โดยมารดาหลังคลอด 1 ราย ใช้ลูกประคบ 2 ลูก วิธีการใช้ลูกประคบคือนำลูกประคบทั้ง2ลูกนึ่งจนร้อนได้ที่ แล้วจึงนำลูกประคบ1 ลูกออกมานวดประคบสมุนไพร ประมาณ 15 นาที เมื่อลูกประคบสมุนไพรเย็นลง จะใช้ลูกประคบสมุนไพรอีกลูกที่ยังอยู่ในหม้อนึ่ง ออกมาใช้นวดประคบต่อ เพื่อให้การนวดประคบมีความต่อเนื่อง และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่มารดาหลังคลอด
  5. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอบรมร่วมกับแพทย์แผนไทย ให้บริการการแพทย์แผนไทยเชิงรุก แก่มารดาหลังคลอดทุกราย
  6. สำรวจการกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ในทารกแรกเกิด ที่มารดาเข้าร่วมโครงการ
  7. ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
    1. มารดาหลังคลอดได้รับการดูแลสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
    2. ร้อยละ 65 ของทารกแรกเกิด กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุกสำหรับมารดาหลังคลอด จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 66-L4142-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาดียา สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด